Page 138 - The 13th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 138
่
ู
ี
ี
ื
้
ั
ั
ู
รปท 4.4 แสดงภาพแปลนและพนทครวของผูใหขอมล 4 (สงคมชนบท)
่
ิ
ั
ี
่
ทมา: ผูวจย (2565)
4.4 ความพึงพอใจและวิธีการปรับการใชงานพื้นที่ครัวของบานพื้นถิ่นรวมสมัยตามความเชื่อในวัฒนธรรม
อสาน
ี
ื
้
่
4.4.1 ความพึงพอใจและวิธีการปรับการใชงานพืนทีครัวในเขตอำเภอเมืองอุบลราชธานี (สังคมเมอง) จากผล
ั
ั
ั
ุ
การสังเกตและการสัมภาษณพบวา เชนคำถามวา “คุณคิดวาครวใหมสะดวกกวาครวเดิมหรือไมและคณยงใชครวแบบเดิมอย ู
ั
ู
ู
่
ึ
ู
ิ
ั
หรือไมอยางไร” โดยผูใหขอมลเกนครง กลาววา (ผใหขอมล 1) “สะดวกทง2อยางเพราะใชประกอบอาหารตางชนิดกน ถาเปน
้
ั
การประกอบอาหารก็ใชครัวนอกบาน อุนอาหารใชครัวในบาน” (ผูใหขอมูล 2) “ครัวเดิมก็ดีอยูแลว อีกอยางคือไมมีงบ
สรางใหม”
4.4.2 ความพึงพอใจและวิธีการปรับการใชงานพื้นที่ครัวในเขตอำเภอเดชอุดม (สังคมชนบท) จากผลการ
ู
ี
ั
็
ี
็
ิ
ู
สังเกตและการสัมภาษณพบวา ผูใหขอมลสวนใหญ มความคดเหนวา ถามครวใหมกนาจะสะดวกกวา โดยกลาววา (ผูใหขอมล
3) “ครัวใหมแบบทันสมัยนาจะสะดวกดี แตคงราคาแพง คิดวาครัวเดิมก็สะดวกดี แตยังใชครัวแบบเดิมเพราะสามารถใช
ประกอบอาหารไดตามทีตองการ”
่
ื
ั
้
ี
ั
ุ
่
ั
่
ิ
่
สรป ความพงพอใจและวธการปรบการใชงานพนทครวของบานพนถินรวมสมยตามความเชอในวฒนธรรม
ั
ื
ี
้
ื
ึ
อีสาน พบวา ผูใหขอมูลทั้ง 2 กลุม ระบุไดสอดคลองกัน คือ มีความพึงพอใจในครัวเดิมของตนเอง แมวาอยากมีการ
ปรับเปลี่ยนใหมก็ตาม ทั้งนี้สวนใหญกลาววาขึ้นอยูกับ งบประมาณในการกอสรางเปนหลัก ไมวาจะเปนครัวดั่งเดิมหรือครว
ั
ั
ี
ตามยุคสมย ซึ่งไมมผูใหขอมูลกลุมใดพูดถึงการปรับเปลี่ยนครวตามความเชื่อในวัฒนธรรมอีสาน เนื่องจากครวเดิมที่มีอยูเปน
ั
ั
ื
่
ั
ี
่
ี
ู
ครวททำตามเชออยแลว และยังไมมการเปลียนแปลงในอนาคต
่
5. การอภิปรายผล ขอจำกด และขอเสนอแนะในการวจยครังตอไป
ั
ิ
ั
้
การวิจัยนี้มีจุดมุงหมายเพื่อศึกษาและทำความเขาใจ การศึกษารูปแบบพื้นที่ครัวอีสานในบานพื้นถิ่นรวมสมย
ั
กรณีศึกษา จังหวัดอุบลราชธานี ผูวิจัยสามารถสรุปการอภิปรายผลเพื่อตอบคำถามงานวิจัยดงน้ 5.1) ความเชื่อในวัฒนธรรม
ั
ี
อีสานสงผลตอการใชงานพื้นที่ครัว 5.2) พฤติกรรมการใชพื้นที่ครัวอีสานสมัยใหมแตกตางจากการใชงานพื้นที่ครัวดั้งเดม
ิ
ี
่
ื
่
ั
ั
ู
5.3) รปแบบการใชงานพนทครวสมยใหมมีการปรับเปลียนจากเดิม แบงตามหวขอดงตอไปนี
้
้
ั
ั
130