Page 176 - The 13th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 176
ั
ู
ี
่
ู
ิ
จนเพมเติม ไดแก 1) ชองแสงลวดลายเรขาคณิตและพืชพรรณมงคลของจีน 2) ลวดลายรูปปนนนตำบนผนงอาคารและปนปน
่
ู
ั
ึ
ี
ี
ื
ี
้
บนหลงคา 3) โทนสดังเดิมของอาคาร 4) การวางผังอาคารแบบสเรอน-ลอม-ลานตามผังบานจนโบราณ โดยบนทกขอมลแบบ
่
ั
ุ
เรียงลำดับตามสวนทพบ จากการสัมภาษณและสอบถามนักทองเทยวชมชนตลาดนอยชาวไทยสวนใหญใหความเห็นวา โทนสี
ี
ี
่
่
ี
่
ี
่
ของอาคารเปนสวนทเดนทสุด รองลงมาไดแก ลวดลาย การวางผังอาคาร ประตู และหนาตางตามลำดับ
กลุมผูใหขอมูลและกลุมตัวอยางทั้งหมดมีความเห็นตรงกันวา บานโซวเฮงไถและบานเหลียวแลนั้นควรคาแก
้
่
ี
่
ื
ั
ึ
ิ
ั
ี
่
การอนุรกษ เนองจากเปนอาคารสถาปตยกรรมจีนเกาแกทแสดงถงมรดกวฒนธรรม ความเปนมา การตังถนฐานของชาวจนใน
ั
้
ั
ั
ุ
ี
ประเทศไทย และยังเปนอาคารเกาทปรบปรงเปนรานกาแฟเพอหารายได ทำใหมนกทองเทยวนนรูจกชุมชนตลาดนอยมากขึน
้
ี
ี
ื
่
ั
่
่
ซึ่งสอดคลองกับยุทธศาสตรที่ 2 :การอนุรักษมรดกวัฒนธรรม ของโครงการอนุรักษฟนฟูยานตลาดนอยและพื้นที่ตอเนื่อง
ิ
ั
ื
่
ื
ี
ี
ั
้
ู
ี
่
่
ี
ู
ิ
่
(สถาบนอาศรมศลป, 2558) ทมวสยทศนวา “การฟนฟยานตลาดนอยและพนทตอเนอง ใหเปนยานทดำรงความเปนศนยกลาง
ั
่
ั
้
ั
ทางเศรษฐกิจ การคาในระดับเมืองอนุรกษมรดกทางวัฒนธรรมควบคูกบการพัฒนาในอนาคตรวมถึงการพัฒนาพืนทีสาธารณะ
ั
ั
้
ี
่
รมแมนำเจาพระยาใหกลบมาเปนหนาบานทยงประโยชนแกสาธารณะดังเชนอดต”
ี
ิ
6.2 ดานการอนรกษอาคาร
ั
ุ
จากการสังเกตและการสัมภาษณเจาของและผูเชาสถานท พบวา เจาของบานโซวเฮงไถและผูเชาบานเหลียวแล
ี
่
ี
ั
่
อยากรักษาใหเหมือนเดิมมากที่สุดแตไมมแนวทางการอนุรกษและแนวทางการปองกันปญหาทีเกิดขึ้นกับอาคาร เนื่องจากไม
สามารถหาชางฝมือที่มีความสามารถในการซอมแซมได วัสดุเดิมนั้นหาไดยากและมีราคาสูง จากการสัมภาษณและสอบถาม
ุ
นักทองเที่ยวชมชนตลาดนอย พบวา กลุมผูใหขอมูลและกลุมตัวอยางท้งหมดมีความคิดเห็นตรงกนวาบานโซวเฮงไถและบาน
ั
ั
ั
ั
้
ื
ั
ี
่
่
เหลียวแลนนควรคาแกการอนรกษไว ผูเชยวชาญใหความเห็นวาในการอนุรกษสามารถทำวิธการอน ๆ ได เชน อาจนำเทคนิค
ุ
ี
่
การกอสรางหรือเทคโนโลยีสมัยใหม ผสมผสานเขากับสถาปตยกรรมเกาเพอใหมีรูปแบบดั้งเดิม ความรูสึกเดิม แตเสริมให
ื
่
สวยงาม แขงแรง และเพือไมใหสวนตาง ๆ นนทรดโทรมมากขึน
็
้
ั
้
ุ
6.3 ดานปญหาทกระทบตอบานโซวเฮงไถและบานเหลียวแล
่
ี
จากการสังเกตและสัมภาษณเจาหนาที่ผูดูแลอาคารกรณีศึกษา พบวา ผลกระทบตอบานโซวเฮงไถและบาน
เหลียวแลที่พบบอยที่สุดคือผลกระทบจากน้ำทวมซ่งเคยไดรับผลกระทบหนักที่สุดเม่อป พ.ศ. 2554 ที่สงผลใหภายในอาคาร
ื
ึ
ิ
ั
ู
ั
เกดความเสียหาย ในปจจบนยงคงไดรับผลกระทบจากนำทวมในฤดฝน ในสวนของผลกระทบจากฝนและแสงแดดที่กระทบตอ
้
ุ
อาคารเปนเวลานาน สงผลใหองคประกอบของอาคารหลายสวนเกิดสีหลุดลอก สึกกรอน ทรุดโทรม เกิดเชื้อราบนผนังท ี ่
่
ุ
ี
ิ
ั
สามารถสงผลตอสุขภาพของผูอยอาศยและผูเขาชม และรากฐานบางสวนของอาคารเกดการทรดตัว ทเปนผลกระทบจากการ
ู
ตอกเสาเข็มเพื่อการสรางเขื่อนในพื้นที่ใกลเคียงกับอาคาร โดยเจาของและผูเชาสถานที่ไมมีแนวทางการปองกันปญหาท่เกด
ี
ิ
ั
ั
ึ
ิ
ิ
่
ื
ื
จากความชนซงขดแยงกบแนวทางการซอมแซมอนรกษอาคารโบราณสถาน (สมชาต จงสริอารกษ, 2560) เนองจากความชนท ี ่
ื
้
ั
้
่
ึ
ั
ุ
เกิดขึ้นกับโครงสรางของอาคารนั้นเปนปจจัยที่ทำใหอิฐ ผนัง และไมของอาคารนั้นเสื่อมสภาพ (สุริยันต จันทรสวาง, 2564)
ผูเชี่ยวชาญใหคำแนะนำวา ในอาคารเกาที่จำหนายอาหารและเครื่องดื่มนั้น ดานสาธารณสุขนั้นสำคัญ ควรทำความสะอาด
ั
้
และปรบปรงผนังอาคาร โดยศึกษาเรื่องวัสดทีมคณสมบตปองกันความชืน ไดแก น้ำยากำจัดและปองกันเชือรา น้ำยาปองกน
้
ั
ั
ุ
ี
ุ
ิ
่
ุ
ความชื้น สีรองพื้นและสีทาผนังท่ทนทานตอความชื้น และในบางสวนอาจตองนำออกและเปลี่ยนเปนวัสดทีใกลเคยงเดิมมาก
ี
ี
ุ
่
ิ
ทสด โดยเก็บชนสวนเดิมเอาไว
่
ี
้
ุ
ู
6.4 ดานการซอมแซมบรณะอาคาร
จากการสังเกตและการสัมภาษณเจาของและผูเชาสถานที่ พบวา บานโซวเฮงไถยงคงเปนโครงสรางเดิมแตได
ั
ิ
ู
่
ื
ิ
ซอมแซมบรณะองคประกอบของอาคารหลายสวน และพบรองรอยการปรบปรุงเพมเตมเพอการใชงานของเจาของบาน แตใน
ั
่
บางจุดที่มีการซอมแซมแลวนั้นไมไดใชวสดเดิม ในสวนของบานเหลียวแลน้น พบวา บานเหลียวแลยังคงเปนโครงสรางเดิมมี
ุ
ั
ั
ื
่
ื
ั
่
การซอมแซมโดยใชวสดุเดิมแคเพยงบางสวนเนองจากบานไดถกปดตายมาเปนเวลานาน และพบการตอเตมเพอการใชงานใน
ิ
ู
ี
ี
สวนของบรการรานกาแฟ ซึ่งสอดคลองกบวิธการอนรกษ (สิทธิพร ภิรมยรน, 2547) ขอที่ 3 วา นอกจากวิธีการทางกฎหมาย
ื
ั
่
ุ
ิ
ั
ั
ุ
ั
่
้
ุ
่
ี
ี
และวิธการทางเศรษฐกิจแลวนน มาตราการอืน ๆ ทสามารถอนรกษได คอ การปรับปรงอาคารเดิมเพอใชประโยชนใหมและม ี
ื
่
ื
168