Page 162 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 162
th
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
3. วิธีด�าเนินการ
ึ
ี
ผู้วิจัยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการสังเกตพฤติกรรม สภาพปัญหา และผลกระทบท่เกิดข้นกับการใช้งาน
ู
ั
่
้
ู
ุ
ึ
็
ี
ั
ุ
ิ
ั
ั
์
ั
้
อปกรณ์หนและตดในการประกอบอาหารของเดกปฐมวยอาย 3 - 5 ป และสมภาษณเชงลกครผสอนระดบชนปฐมวยโรงเรยน
ั
ี
ั
อนุบาลของรัฐและเอกชนในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร จ�านวน 5 แห่ง คือ โรงเรียนอนุบาลขุมทองวิทยา โรงเรียนอนุบาล
สามเสนฯ โรงเรียนอนุบาลพิบูลเวศม์ โรงเรียนอนุบาลวัดปรินายก และโรงเรียนอนุบาลคหกรรมศาสตร์เกษตร ตามหลักสูตร
ื
การศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546 บันทึกภาพน่ง ภาพเคล่อนไหว และพิจารณาผู้วิจัยเป็นเคร่องมือหน่งของการเก็บรวบรวม
ิ
ื
ึ
ข้อมูลอย่างไม่มีอคติ จากนั้นวิเคราะห์ข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้ทั้งหมดด้วยกระบวนการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis)
ี
ั
�
เพ่อให้ได้ปัจจัยท่มีผลต่อการกาหนดแนวทางการออกแบบอุปกรณ์ห่นและตัดท่ตอบสนองต่อพฤติกรรมการประกอบอาหาร
ื
ี
ั
ื
ั
ของเด็กปฐมวัย และแสดงการเช่อมโยงปัจจัยเหล่าน้นสู่แนวทางการออกแบบอุปกรณ์ห่นและตัดเพ่อตอบสนองพฤติกรรม
ื
การประกอบอาหารของเด็กปฐมวัย
4. ผลการศึกษาและอภิปรายผล
4.1 ผลการศึกษา
ผู้วิจัยแบ่งผลการศึกษาออกเป็น 3 ส่วน คือ 1) พฤติกรรมการใช้งานอุปกรณ์หั่นและตัดในการประกอบอาหาร
ั
ของเด็กปฐมวัย 2) ปัจจัยท่มีผลต่อการกาหนดแนวทางการออกแบบ และ 3) แนวทางการออกแบบอุปกรณ์ห่นและตัดท ่ ี
�
ี
ตอบสนองต่อพฤติกรรมการประกอบอาหารของเด็กปฐมวัย โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
4.1.1 พฤติกรรมการใช้งานอุปกรณ์หั่นและตัดในการประกอบอาหารของเด็กปฐมวัย
ั
การประกอบอาหารของเด็กปฐมวัยภายในโรงเรียนอนุบาลต้งแต่เร่มจนจบกิจกรรมเป็นส่วนหน่งของ
ึ
ิ
กิจกรรมมนุษย์สัมพันธ์ท่เน้นทักษะการเข้าสังคมและการทางานร่วมกับผู้อ่น โดยใช้ระยะเวลาในการทากิจกรรมประมาณ
ี
�
�
ื
1 ชั่วโมงต่อวัน ซึ่งสามารถแบ่งขั้นตอนการจัดกิจกรรมออกเป็น 3 ช่วง คือ ขั้นเตรียม ขั้นปฏิบัติ และขั้นสรุป ดังรูปที่ 1
ครูผู้สอนแบ่งเด็กออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 3-6 คน เพื่อแบ่งหน้าตามวิธีการประกอบอาหารประเภทต่างๆ การหั่นและตัดอยู่ใน
ี
ั
ั
ึ
ข้นตอนของการเตรียมวัตถุดิบซ่งเด็กจะได้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเองผ่านการใช้งานอุปกรณ์ห่นและตัดท่ครูเตรียมให้ วัตถุดิบ
ส่วนใหญ่ที่น�ามาใช้ คือ ผักสดหรือผักต้ม เช่น แครอท แตงกวา บล็อคโคลี่ เป็นต้น ลักษณะการท�างานของเด็กอยู่ในท่ายืน
มือด้านหน่งจับวัตถุดิบวางบนเขียง อีกด้านจับอุปกรณ์เพ่อห่นและตัด ข้นตอนต่อไปหลังจากใช้งานเสร็จแล้ว คือ ข้นตอน
ึ
ั
ั
ื
ั
�
ื
�
การทาความสะอาดและจัดเก็บอุปกรณ์ เด็กจะช่วยกันเก็บเศษอาหารใส่ในถังขยะ และเก็บอุปกรณ์ประกอบอาหารเพ่อทาความ
สะอาดให้เรียบร้อยก่อนจะท�ากิจกรรมอื่นในอันดับต่อไป
ขั้นเตรียม ขั้นปฏิบัติ ขั้นสรุป
รูปที่ 1 แสดงขั้นตอนการจัดกิจกรรมประกอบอาหารของเด็กปฐมวัย
ที่มา: ผู้วิจัย (2559)
ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
157 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.