Page 163 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 163
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
th
ผู้วิจัยพบว่าพฤติกรรมการหยิบจับอุปกรณ์หั่นและตัดในการประกอบอาหารของเด็กมีความแตกต่างกัน
ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มใช้งานอุปกรณ์ด้วยมือข้างเดียวและกลุ่มใช้งานอุปกรณ์ด้วยมือทั้งสองข้าง ดังตารางที่ 2
ิ
กลุ่มใช้งานอุปกรณ์ด้วยมือข้างเดียวพบว่ามีวิธีการหยิบจับอุปกรณ์ 3 แบบ คือ 1) การจับโดยถือด้ามจับด้วยน้วท้งห้า
ั
2) การจับโดยถือด้ามจับและวางนิ้วชี้ไว้บนสันมีดเพื่อออกแรงกด 3) การจับโดยถือด้ามจับวางนิ้วชี้และนิ้วโป้งตรงส่วนท้าย
ั
ื
ของใบมีดเพ่อออกแรงกด กลุ่มใช้งานอุปกรณ์ด้วยมือท้งสองข้าง มีวิธีการหยิบจับอุปกรณ์ คือ การจับโดยถือด้ามจับด้วย
นิ้วทั้งห้าและใช้ฝ่ามือหรือใช้นิ้วมืออีกข้างวางลงไปบนปลายมีดเพื่อออกแรงกด จากการหยิบจับอุปกรณ์ของเด็กทั้ง 2 กลุ่ม
�
ื
ี
ื
ิ
พบว่าเด็กใช้มือข้างท่ตนเองถนัดเพ่อจับอุปกรณ์ในลักษณะคว่ามือลง ใช้ข้อมือและน้วบังคับทิศทางอุปกรณ์เพ่อออกแรงกด
ในการห่นและตัด ลักษณะของพฤติกรรมดังกล่าวจะเห็นได้ว่ามือของเด็กน้นสัมผัสกับอุปกรณ์โดยตรง หากอุปกรณ์ท่ใช้ม ี
ั
ี
ั
ความแหลมคมมากอาจท�าให้เกิดอันตรายกับเด็กได้
ตารางที่ 2 แสดงพฤติกรรมการหยิบจับอุปกรณ์หั่นและตัดในการประกอบอาหารของเด็กปฐมวัย
พฤติกรรมการหยิบจับอุปกรณ์หั่นและตัดในการประกอบอาหารของเด็กปฐมวัย
กลุ่มใช้งานอุปกรณ์ด้วยมือข้างเดียว
ก) การจับโดยถือด้ามจับด้วยนิ้วทั้งห้า
ข) การจับโดยถือด้ามจับและวางนิ้วชี้บน
สันมีดเพื่อออกแรงกด
ค) การจับโดยถือด้ามจับวางนิ้วชี้และนิ้วโป้ง (ก.) (ข.) (ค.)
ตรงส่วนท้ายของใบมีดเพื่อออกแรงกด
กลุ่มใช้งานอุปกรณ์ด้วยมือทั้งสองข้าง
ง) การจับโดยถือด้ามจับด้วยนิ้วทั้งห้าและ
ใช้ฝ่ามือหรือใช้นิ้วมืออีกข้างวางลงบน
ปลายมีดเพื่อออกแรงกด
(ง.)
ที่มา: ผู้วิจัย (2559)
อุปกรณ์หั่นและตัดที่ใช้ในกิจกรรมประกอบอาหาร คือ มีดที่ใช้งานร่วมกับเขียงซึ่งรองรับการหั่นและตัด
ดังรูปที่ 2 มีดมีองค์ประกอบหลัก 2 ส่วน คือ ด้ามมีดและใบมีด ด้ามมีดท�าจากไม้และพลาสติกมีทั้งแบบกลมและเหลี่ยม
ี
ี
หลากหลายขนาดปะปนกัน ใบมีดท�าจากพลาสติกและสแตนเลส โดยใช้งานร่วมกับเขียงรูปส่เหล่ยมซ่งวัสดุท�าจากไม้และ
ึ
พลาสติก เช่นกัน จากการสัมภาษณ์ครูผู้สอน พบว่าการเลือกใช้อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับเด็กนั้นเรื่องความปลอดภัยเป็นสิ่งที่
ั
ค�านึงถึงเป็นอันดับแรก ส่วนของการห่นและตัดในการประกอบอาหารน้นจึงเลือกอุปกรณ์ท่มีขนาดเล็กพอดีกับมือของเด็ก
ี
ั
ี
ี
มาใช้เพราะปลอดภัยมากกว่าอุปกรณ์ท่มีขนาดใหญ่ ถึงแม้การเลือกใช้งานอุปกรณ์ท่มีขนาดเล็กจะดูมีความปลอดภัยมากกว่า
แต่รูปแบบของด้ามจับยังไม่สอดรับกับขนาดมือของเด็กจึงใช้งานไม่สะดวกเพราะหยิบจับไม่กระชับมือ การควบคุมอุปกรณ์
และการออกแรงกดเพื่อหั่นและตัดเป็นไปได้ยาก จึงส่งผลถึงวิธีการหยิบจับอุปกรณ์ของเด็กที่ไม่ถูกต้อง รวมทั้งปลายมีดและ
ี
ี
ใบมีดท่ยังมีความแหลมคมอยู่อาจเกิดอันตรายกับเด็กในขณะใช้งานและการเคล่อนย้ายอุปกรณ์ได้ นอกจากน้ยังพบว่าเด็ก
ื
บางคนขาดความระมัดระวังขณะใช้งานอุปกรณ์ คือ การหันมองเพ่อนรอบข้าง หรือพูดคุยระหว่างท่ตนเองยังจับมีดในลักษณะ
ี
ื
พร้อมใช้งาน ถึงแม้การจัดกิจกรรมจะมีครูผู้สอนคอยดูแลอย่างใกล้ชิด แต่ขณะเดียวกันครู 1 คน ไม่สามารถดูแลเด็กจ�านวน
ี
ิ
20-30 คนในเวลาเดียวกันได้ จึงจ�าเป็นอย่างย่งท่เด็กจะต้องระมัดระวังตนเองไปพร้อมกัน แต่ด้วยช่วงวัยท่เล็ก วุฒิภาวะในการ
ี
ี
ั
ไตร่ตรองยังมีไม่เพียงพอ พฤติกรรมดังกล่าวจึงสามารถก่อให้เกิดอันตรายกับเด็กได้ตลอดเวลาเช่นกัน ดังน้นการปรับเปล่ยน
Vol. 8 158