Page 164 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 164

th
 Research Proceedings in The 8  Graduate Integrity Conference: April, 2017







                                                                                                     ี
                                                                                                             ึ
                                          �
                                                                  �
                รูปแบบของผลิตภัณฑ์จึงมีความสาคัญเพราะนอกจากช่วยลดข้อจากัดในการใช้งานแล้วยังสามารถลดอันตรายท่อาจเกิดข้น
                กับเด็กปฐมวัยในขณะใช้งานได้อีกด้วย ผู้วิจัยใช้หลักการ SWOT Analysis เพื่อวิเคราะห์ถึงข้อดีและข้อเสียของอุปกรณ์หั่น
                และตัดดังกล่าวรวมทั้งใช้เป็นข้อมูลในการหาแนวทางการออกแบบ รายละเอียดดังตารางที่ 3










                             รูปที่ 2 แสดงลักษณะของอุปกรณ์หั่นและตัดที่ใช้ในการประกอบอาหารส�าหรับเด็กปฐมวัย
                                                       ที่มา: ผู้วิจัย (2559)

                ตารางที่ 3 แสดงการวิเคราะห์อุปกรณ์หั่นและตัดโดยใช้ SWOT Analysis

                                    การวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็ง อุปสรรค โอกาส (SWOT Analysis)
                               อุปกรณ์หั่นและตัดที่ใช้ในกิจกรรมประกอบอาหารของเด็กปฐมวัย อายุ 3-5 ปี

                  Strength: จุดแข็ง                             Weakness: จุดอ่อน
                  -  สามารถใช้งานกับวัตถุดิบได้หลากหลาย         -  เสี่ยงต่อการเกิดอันตรายได้ง่ายเพราะวัสดุมีความ
                  -  ใช้งานได้หลายประเภท เช่น หั่น ตัด สับ ซอย ปอก   แหลมคม
                   เป็นต้น                                      -  อุปกรณ์ไม่ได้ถูกออกแบบมาเพื่อเด็กปฐมวัยตั้งแต่ต้น
                  -  รูปแบบเป็นที่นิยม ไม่ซับซ้อน ใช้งานได้สะดวก  จึงมีรูปแบบที่ไม่เหมาะสมกับพฤติกรรม กายภาพและ
                  -  มีขนาดและวัสดุที่หลากหลายตามความต้องการ      การใช้งานของเด็กปฐมวัย

                  -  ราคาถูก หาซื้อได้ง่าย                      -  ไม่มีบรรจุภัณฑ์หรืออุปกรณ์เสริมป้องกันอันตรายในขณะ
                                                                  ใช้งาน เคลื่อนย้าย หรือจัดเก็บ
                  Opportunity: โอกาส                            Threat: อุปสรรค

                  -  สร้างรูปแบบที่มีความเป็นมิตร ปลอดภัย และใช้งานง่าย -  การปรับเปลี่ยนรูปแบบและขนาดของอุปกรณ์ อาจส่งผล
                                                           ื
                  -  สร้างบรรจุภัณฑ์หรืออุปกรณ์เสริมป้องกันอันตราย เพ่อลด  ต่อข้อจ�ากัดในเรื่องประเภทวัตถุดิบที่น�ามาใช้งาน
                   ความเสี่ยงต่ออันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับเด็กในขณะใช้งาน  -  การยอมรับในรูปแบบอุปกรณ์ใหม่ของผู้ใช้งาน
                   เคลื่อนย้าย หรือจัดเก็บ
                  -  ครูสามารถน�ามาใช้เป็นสื่อการเรียนการสอนในการจัด
                   กิจกรรมประกอบอาหารส�าหรับเด็กปฐมวัยได้

                ที่มา: ผู้วิจัย (2559)



                                                                                   ี
                                                                                                ิ
                                                                                            ่
                                                                           ั
                                                                                 ั
                                                                                   ่
                                                                     ุ
                                                                          ์
                                                                           ่
                                      ่
                                      ี
                                       ี
                           4.1.2  ปจจยทมผลตอการกาหนดแนวทางการออกแบบอปกรณหนและตดทตอบสนองตอพฤตกรรมการประกอบ
                                  ั
                                    ั
                                           ่
                                                �
                อาหารของเด็กปฐมวัย
                                ปัจจัยสาคัญท่มีผลต่อการกาหนดแนวทางการออกแบบอุปกรณ์ห่นและตัดท่ตอบสนองต่อพฤติกรรม
                                                                                   ั
                                                                                           ี
                                           ี
                                      �
                                                      �
                การประกอบอาหารของเด็กปฐมวัย ประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่ 1) ปัจจัยด้านกายภาพ 2) ปัจจัยด้านการใช้งาน 3) ปัจจัย
                ด้านรูปแบบ โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
                                                                    ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
                                                             159    คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์  สจล.
   159   160   161   162   163   164   165   166   167   168   169