Page 179 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 179
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
th
ด้านขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางและเส้นรอบวงเท้าข้าง ความสูงและเส้นรอบวงของข้อเท้าและข้อพับขา เป็นปัจจัยใหม่
ื
ี
ี
ี
ื
ี
ท่ค้นหาเพ่อการออกแบบรองเท้าส�าหรับแช่น้ายา เพ่อรักษาบาดแผลบริเวณเท้าของช้างเล้ยงให้มีขนาดท่เหมาะสมกับช้างเล้ยง
�
และใช้งานได้กับช้างที่ได้รับบาดเจ็บทั่วไปไม่ใช่เฉพาะตัวใดตัวหนึ่ง
ด้านน�้าหนัก จากการแสดงการลงน�้าหนักเท้าช้างในรูปที่ 9 เท้าช้าง 1 ข้างต้องรับน�้าหนักสูงสุดร้อยละ 25
ของน�้าหนักตัวทั้งหมด ผลการค้นหาปัจจัยด้านน�้าหนัก คือ น�้าหนักมากที่สุด 4,500 กิโลกรัม ดังนั้นรองเท้าต้องรับน�้าหนัก
สูงสุดได้ ร้อยละ 25 ของ 4,500 กิโลกรัม คือ 1,125 กิโลกรัม แต่ช้างที่มีแผลบาดเจ็บบริเวณเท้าจะลงน�้าหนักเท้าน้อยกว่า
ข้างที่ไม่มีแผลบาดเจ็บ
5. สรุปผล
ี
ี
ผู้วิจัย สรุปปัจจัยท่ส่งผลต่อการออกแบบรองเท้าส�าหรับแช่น้ายาเพ่อรักษาบาดแผลบริเวณเท้าของช้างเล้ยงดังน ้ ี
�
ื
ปัจจัยด้านข้อมูลการสัตวแพทย์ คือ ขั้นตอนวิธีการรักษาโดยวิธีการแช่น�้ายาระยะเวลาและความถี่ในการแช่น�้ายา ต�าแหน่ง
ขนาด ความลึกของบาดแผล และลักษณะของน�้ายา ปัจจัยด้านพฤติกรรมช้างที่มีแผลบริเวณเท้า คือ พฤติกรรมขณะรักษา
�
การยืน การเดิน และการใช้งวงของช้าง ปัจจัยด้านกายภาพขาและเท้าช้าง คือ ลักษณะเท้าและขาช้าง ส่วนประกอบ น้าหนัก
�
่
การลงนาหนกของเท้าช้าง ขนาดเส้นรอบวงขาและเท้าช้าง ความสงของขาและเท้าช้าง เพือค้นหาแนวทางการออกแบบ
ั
ู
้
รองเท้าส�าหรับแช่น�้ายาเพื่อรักษาบาดแผลบริเวณเท้าของช้างเลี้ยง
์
ั
ึ
ั
ั
ั
ู
ี
่
้
่
ิ
ี
ี
่
ั
้
ั
ดวยปจจยทมความสมพนธกน จงสงผลตอการออกแบบทมรปแบบสอดคลองกบวธการรกษา ครอบคลมถงตาแหนง ่
ึ
ุ
�
่
ี
ี
ั
ี
บาดแผล ขนาดและความลึก ในระยะเวลาการรักษาท่ก�าหนด ป้องกันส่งแปลกปลอมจากภายนอกได้ สอดคล้องกับพฤติกรรม
ิ
ช้างที่มีแผลบาดเจ็บบริเวณเท้า คือ ป้องกันแรงกระแทกจากการ ยืน เดิน และการใช้งวงได้ สอดคล้องกับรูปร่าง ลักษณะ
ี
และขนาดของเท้าและขาช้าง และรองรับน้าหนักของช้างได้ ปรับเปล่ยนใช้กับช้างได้หลายเชือก ใช้วัสดุท่ไม่ท�าปฏิกิริยากับน้ายา
�
ี
�
และมีความแข็งแรงทนทานหรือยืดหยุ่น รองรับแรงกระแทกจากพฤติกรรมของช้างด้วย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษา
บาดแผลด้วยการแช่น�้ายาให้เพิ่มขึ้น
6. ข้อเสนอแนะ
ิ
ื
การวิจัยต่อไปข้อเสนอแนะให้ศึกษาปัจจัยด้านอ่นๆ เพ่มเติมเช่นด้านวัสดุเพ่มเติมเพ่อให้สอดคล้องกับรูปแบบของ
ื
ิ
ื
ผลิตภัณฑ์และพฤติกรรมของช้าง เน่องจากวัสดุในการออกแบบก็เป็นปัจจัยส�าคัญต่อรูปแบบรองเท้าและการรับแรงกระท�า
�
ี
ื
ของช้าง และด้านลักษณะพ้นท่ เพราะผลิตภัณฑ์ต้องมีการกระท�าต่อพ้นท่ท่ช้างอาศัยอยู่ขณะรักษาบาดแผลด้วยการแช่น้ายา
ี
ี
ื
ื
โดยค�านึงขนาดของผลิตภัณฑ์ให้ใช้ได้กับช้างทุกเชือกจากการน�าแนวคิดในการออกแบบให้สอดคล้องกับการใช้งานเพ่อการ
รักษา
เอกสารอ้างอิง
คณะนายสัตวแพทย์ โรงพยาบาลช้าง สถาบันคชบาลแห่งชาติในพระอุปถัมภ์ฯ. (2554). ต�ารับการดูแลช้าง. ล�าปาง:
ศิลปการ พิมพ์.
คณะอนุกรรมาธิการทรัพยากรธรรมชาติ วุฒิสภา. (2547). ศึกษาหาแนวทางการแก้ไขปัญหาท่เก่ยวกับช้างเล้ยงและ
ี
ี
ี
ช้างป่าในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: ส�านักงานเลขาธิการวุฒิสภา.
สถาบันวิจัยและบริการสุขภาพช้างแห่งชาติ จังหวัดสุรินทร์. (2543). หนังสือความรู้เรื่องช้าง เล่ม 1. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์
ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จ�ากัด.
Vol. 8 174