Page 178 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 178
th
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
ตารางที่ 1 แสดงขนาดขาและเท้าช้าง
ขนาด ค่ายาวยาวมากที่สุด ค่ายาวยาวน้อยที่สุด
รายการ (ซม.) (ซม.)
1) ขาและเท้าหน้า
1.1) ความยาวเส้นผ่านศูนย์กลางฝ่าเท้า 46 35
1.2) ความยาวเส้นรอบวงฝ่าเท้า 144 120
1.3) ความสูงจากพื้นถึงข้อเท้า 35 20
1.4) ความยาวเส้นรอบวงข้อเท้า 93 70
1.5) ความสูงจากพื้นถึงข้อพับที่ 1 54 38
1.6) ความยาวเส้นรอบวงข้อพับที่ 1 96 75
1.7) ความสูงจากพื้นถึงข้อพับที่ 2 120 90
1.8) ความยาวเส้นรอบวงข้อพับที่ 2 130 105
2) ขาและเท้าหลัง
2.1) ความกว้างฝ่าเท้า 40 30
2.2) ความยาวฝ่าเท้า 52 38
2.3) ความสูงจากพื้นถึงข้อเท้า 35 24
2.4) ความยาวเส้นรอบวงข้อเท้า 110 72
ที่มา: ผู้วิจัย (2559)
4.4 การอภิปรายผล
ด้านข้อมูลการแพทย์ ขั้นตอนในการรักษาด้วยการแช่น�้ายา มีหลายขั้นตอน รูปแบบการใช้งานผลิตภัณฑ์ควร
ั
ั
้
�
่
ิ
ู
่
ั
ั
ุ
์
สอดคล้องกบข้นตอนการรกษา ระยะเวลาการใสและการถอดผลิตภณฑ การบรรจนายาในคงอยในบรเวณบาดแผลระยะเวลา
สูงสุด 120 นาที โดยพิจารณาต�าแหน่งบาดแผลใต้ฝ่าเท้าที่มีขนาดกว้างสูงสุด 10 เซนติเมตร และลึกสูงสุด 20 เซนติเมตร
วัสดุที่ใช้ต้องไม่ท�าปฏิกิริยากับตัวยาที่ใช้ที่มีฤทธิ์เป็นด่าง และมีการใช้งานซ�้าได้
ด้านพฤติกรรมการเคล่อนไหวของช้าง ได้แก่ การยืน การเดิน และการใช้งวง และสภาพแวดล้อมในขณะรักษา
ื
เช่น ลักษณะพ้น ส่งปฏิกูลจากช้าง เป็นต้น ล้วนส่งผลกระทบต่อการออกแบบผลิตภัณฑ์ ดังน้นรูปแบบรองเท้าจึงต้อง
ั
ื
ิ
สอดคล้องกับพฤติกรรมของช้างและสภาพแวดล้อม ผู้วิจัยจึงต้องศึกษาด้านวัสดุและโครงสร้างที่สามารถรองรับแรงกระแทก
จากพฤติกรรมการโยกตัวของช้าง การกระแทกของเท้า การลงน�้าหนัก และป้องกันการใช้งวงต่อรองเท้า
ด้านกายภาพขาและเท้า ขาของช้าง จากการสารวจลักษณะทางกายภาพและขนาดขา และเท้าช้าง ผู้วิจัย
�
ส�ารวจได้ทั้งหมด 18 เชือก การส�ารวจได้จ�านวนน้อยกว่าที่วางแผนไว้ คือ 30 เชือกเนื่องจาก ช่วงระยะเวลาในการส�ารวจ
เป็นช่วงฤดูตกมันของช้างเพศผู้ทาให้ช้างมีพฤติกรรมก้าวร้าวอีกท้งช้างแต่ละเชือกมีลักษณะนิสัยท่แตกต่างกัน จึงเป็นอุปสรรค
ี
ั
�
แก่การเข้าหาช้าง ลักษณะและส่วนประกอบของเท้าช้างมีความสอดคล้องกับ สถาบันวิจัยและบริการสุขภาพช้างแห่งชาติ (2543)
ที่กล่าวว่า ช้างมีขาที่ใหญ่และตรงคล้ายต้นเสา ขาหน้าจะรับน�้าหนักมากเพราะมีส่วนหัว ขาหน้าจะยาวกว่าขาหลังเล็กน้อย
ซึ่งสอดคล้องดังที่ เพชรธิศักดิ์ สมบัติภูธร และฐิติพร กีรติมโนชญ์ (2554) กล่าวว่า เท้าช้างประกอบไปด้วย เล็บ นิ้วเท้า
ฝ่าเท้าและโครงสร้างที่เรียกว่า Cushion Pad ผู้วิจับจึงเก็บรวบรวมข้อมูลทุกองค์ประกอบของเท้า
ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
173 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.