Page 177 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 177

th
                Research Proceedings in The 8  Graduate Integrity Conference: April, 2017







               ลอกหลุดออกและเจริญขึ้นมาใหม่ได้  โครงสร้างในอุ้งเท้า  อยู่ในบริเวณอุ้งเท้าด้านใน  ลักษณะคล้ายฟองน�้า  ซึ่งน�้าหนักช้าง
               ส่วนใหญ่แล้วจะตกบริเวณอุ้งเท้า ช่วยในการรองรับน�้าหนักขณะช้างก้าวเดิน





















                                            รูปที่ 8 ต�าแหน่งข้อเท้า ข้อพับขา หน้า-หลัง
                                                      ที่มา: ผู้วิจัย (2559)


                          ช้างโตเต็มวัยมีน�้าหนัก เพศผู้ 3,700-4,500 กิโลกรัม เพศเมียมีน�้าหนัก 2,300-3,700 กิโลกรัม ขาหน้าจะรับ
               น�้าหนักมากขาหลังเพราะมีส่วนหัว โดยการลงน�้าหนัก แบ่งเป็นส่วนหัว ร้อยละ 10 เท้าหน้า ร้อยละ 50 แบ่งเป็นเท้าขวา
               ร้อยละ 25 เท้าซ้ายร้อยละ 25 และเท้าหลังร้อยละ 40 แบ่งเป็นเท้าขวา ร้อยละ 20 เท้าซ้ายร้อยละ 20 ดังรูปที่ 9




















                                             รูปที่ 9 รูปแสดงการลงน�้าหนักที่เท้าของช้าง
                                                      ที่มา: ผู้วิจัย (2559)



                                                                                 ี
                      การส�ารวจขาและเท้าช้างเพื่อค้นหารูปขนาดขาและเท้าของกลุ่มตัวอย่างช้างเล้ยงจ�านวน 18 เชือก ด้วยการสุ่มแบบ
               บังเอิญ และเลือกช้างท่มีช่วงอายุโตเต็มวัย มีอายุ 25 ปีข้นไป โดยเป็นช้างพัง 15 เชือก คิดเป็นร้อยละ 83 ช้างพลาย 3 เชือก
                                ี
                                                         ึ
               คิดเป็นร้อยละ 17 ดังรายละเอียดข้อมูลในตารางที่ 1















               Vol.  8                                      172
   172   173   174   175   176   177   178   179   180   181   182