Page 182 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 182

th
 Research Proceedings in The 8  Graduate Integrity Conference: April, 2017







                       The result found that the solar cooker development inside the building must be showed the temperature,
                the graphic that exhibit the direction of valves rotation on the stove as well as the heat level in the storage
                tank for warning if the defect system happened. Besides, the other facilities such as a graphic is needed in
                order to point out either utensil or equipment position as well as the water system for cleaning also installed
                nearby the stove for safer condition to ensure the confidence of the users. Furthermore, the user’s satisfaction
                must be generally considered in order to develop the solar cooker from previous decade. For example, the
                shape  of  solar  cooker  should  be  fitted  belong  to  the  condition  of  the  kitchen  in  each  resort.  Not  only  the

                shape, but the solar cooker ought to make of the resistant insulting materials. Finally, to develop the solar
                cooker outstanding from prior decades, the functions that can be set the time for cooking and storage enough
                power all the times will be attempted in progress.


                Keywords: Requirement, Solar Cooker, Cooking, Kano Model


                1. บทน�า

                                                                    ึ
                                                       ี
                                                                                          �
                       การบริการอาหารเป็นส่วนหน่งของธุรกิจท่พักและรีสอร์ท ซ่งผู้ประกอบอาหารมีบทบาทสาคัญในการบริการผู้เข้าพัก
                                              ึ
                                                                 ี
                                                                                               ึ
                นอกเหนือจากความสามารถของผู้ประกอบอาหารและวัตถุดิบท่ใช้แล้ว  เตาประกอบอาหารเป็นส่วนหน่งท่ทาให้การบริการ
                                                                                                  �
                                                                                                 ี
                                            ี
                มีความสมบูรณ์แบบ ผู้วิจัยจึงลงพื้นท่เพ่อเก็บข้อมูลการใช้พลังงานในการประกอบอาหารในส่วนของห้องครัวจากธุรกิจรีสอร์ท
                                              ื
                                                                       ี
                ของจังหวัดกาญจนบุรี ด้วยเป็นจังหวัดท่มีความโดดเด่นในด้านการท่องเท่ยวและเป็นแหล่งท่องเท่ยวหลักของภูมิภาคตะวันตก
                                              ี
                                                                                         ี
                                                                           ี
                                    ี
                                                                               ี
                                                                ี
                                                   ื
                จังหวัดกาญจนบุรีมีธุรกิจท่พักอยู่จานวนมากเพ่อรองรับนักท่องเท่ยวด้วยสถานท่พักท่เปิดอย่างถูกกฎหมายสาหรับนักท่องเท่ยว
                                                                                                            ี
                                                                                                �
                                          �
                                                         ึ
                     ั
                รวมท้งหมด 639 แห่ง โดยเป็นธุรกิจรีสอร์ท 250 แห่ง ซ่งจัดเป็นอันดับ 7 ของประเทศไทย (ศูนย์วิจัยด้านการตลาดการท่องเท่ยว.
                                                                                                           ี
                2559) ผู้วิจัยได้รับความร่วมมือในการให้ข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างรีสอร์ท 4 แห่ง ประกอบด้วย ผึ้งหวานรีสอร์ท บ้านริมแคว
                แพริมน�้า  บ้านสวนจันทร์  และบ้านกลางทุ่งซึ่งเป็นรีสอร์ทที่เข้าร่วมโครงการซีโรคาร์บอนรีสอร์ท  (Zero  Carbon  Resorts:
                ZCR) อย่างต่อเนื่อง จากการเก็บข้อมูลพบว่าพลังงานหลักในการประกอบอาหารคือ แก๊สแอลพีจี (LPG) เตาประกอบอาหาร
                ที่ใช้คือ  เตาแก๊สแอลพีจีรูปแบบที่แตกต่างกัน  สถิติการใช้แก๊สแอลพีจีส�าหรับการประกอบอาหารของรีสอร์ทมีปริมาณสูงสุด
                618 กิโลกรัมต่อเดือน เฉลี่ยทั้งปี 416 กิโลกรัมต่อเดือน (ZCR. 2015) ระยะเวลาในการประกอบอาหารสูงสุด 15 ชั่วโมง
                ต่อวันต่อผู้เข้าพักอย่างน้อย 30 คน องค์การบริหารก๊าซเรือนกระจก (2559) สามารถคานวณปริมาณการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์
                                                                              �
                                                                                             ื
                                                                            �
                ได้สูงสุด  60  ตันคาร์บอนไดออกไซด์ต่อปีซ่งจะต้องใช้การปลูกต้นไม้ทดแทนจานวน  1,800  ไร่  เพ่อเป็นตัวช่วยในการลด
                                                  ึ
                ปริมาณก๊าซเรือนกระจกดังกล่าว
                                                                                 ิ
                                                                       ี
                                                                                                         ื
                       ผู้วิจัยจึงเล็งเห็นความสาคัญในการพัฒนาเตาประกอบอาหารท่เป็นมิตรต่อส่งแวดล้อมและวิเคราะห์แหล่งเช้อเพลิง
                                         �
                ที่สามารถผลิตพลังงานความร้อนจากพลังงานทางเลือกเพื่อทดแทนการใช้แก๊สแอลพีจีในกิจกรรมห้องครัวของรีสอร์ท พบว่า
                                                                                           ั
                                                                                       ็
                                                                                    ื
                   ั
                                                                                 ่
                                                                                                     ี
                                                                                                           ้
                                                                                                             ิ
                พลงงานจากแสงอาทตย์มความเหมาะสมต่อการใช้ทดแทนแก๊สแอลพีจีดวยคุณสมบตเดน คอ เปนพลงงานสะอาดทไม่กอใหเกด
                                                                                                     ่
                                                                                                        ่
                                ิ
                                                                     ้
                                   ี
                                                                              ั
                                                                               ิ
                อันตรายต่อผู้ใช้งานและส่งแวดล้อม อีกท้งจังหวัดกาญจนบุรีมีศักยภาพด้านพลังงานแสงอาทิตย์ตลอดท้งปีด้วยมีค่าความเข้ม
                                                                                              ั
                                   ิ
                                               ั
                ของแสงอาทิตย์สูงสุด 18.4 Mj/m  ต่อวัน และเฉลี่ยตลอดทั้งปีมากที่สุดในประเทศไทย (กระทรวงพลังงาน. 2559) เนื่องจาก
                                         2
                กระบวนการประกอบอาหารต้องอาศัยการถ่ายเทพลังงานความร้อนตามความเหมาะสมโดยพลังงานแสงอาทิตย์เป็นพลังงาน
                ความร้อนที่อยู่ในรูปของรังสีที่เป็นพลังงานสะอาด ปราศจากอันตรายและ มลพิษ (กระทรวงพลังงาน. 2559) กระบวนการ
                             �
                                           ี
                ประกอบอาหารจาเป็นต้องมีการเปล่ยนรังสีแสงอาทิตย์ให้เป็นพลังงานความร้อนในรูปแบบการประกอบอาหารด้วยเตาพลังงาน
                แสงอาทิตย์ (Solar Cooker) จากการศึกษาของ แนนวานี (Nandwani. 2006) พบว่าเตาพลังงานแสงอาทิตย์มีการพัฒนา
                                                                                                         ื
                                 ั
                มากถึง 200 ประเภทท่วโลกแต่ผู้ประกอบอาหารใช้เตาพลัง งานแสงอาทิตย์ในการประกอบอาหารเพียง 1.5 ล้านคน เม่อเทียบ
                สัดส่วนกับพื้นที่ที่มีความเข้มของแสงอาทิตย์เพียงพอแล้วพบว่ามีปริมาณน้อยมาก
                                                                    ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
                                                             177    คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์  สจล.
   177   178   179   180   181   182   183   184   185   186   187