Page 194 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 194
th
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย
2.1 เพื่อศึกษาวิเคราะห์ระบบและอุปกรณ์ของการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ การปลูกผักอควาโปนิกส์ และการปลูกผัก
แบบเกษตรอินทรีย์
ื
2.2 เพ่อสรุปแนวทางการออกแบบระบบและอุปกรณ์ของการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์อินทรีย์ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง
3. วิธีการวิจัย เครื่องมือวิจัย และระเบียบวิธีวิจัย
3.1 รูปแบบการวิจัย
การวิจัยครั้งนี้ใช้วิธีการวิจัยประยุกต์ (Applied Research) ภายใต้กระบวนการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative
ื
Research) เพ่อออกแบบระบบและอุปกรณ์ปลูกผักไฮโดรโปนิกส์อินทรีย์ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและทดลอง
ประสิทธิภาพด้วยกระบวนการวิจัยทดลอง (Experimental Research)
3.2 ขั้นตอนการวิจัย
ี
3.2.1 ทบทวนวรรณกรรมและงานวิจัยท่เก่ยวข้องกับการปลูกผักไฮโดรโปรนิกส์ การปลูกผักในระบบอควาโปนิกส์
ี
ั
ี
และระบบเกษตรอินทรีย์ ศึกษาปัญหาของระบบและอุปกรณ์ปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ท่มีอยู่เดิมหรือใกล้เคียงท้งในประเทศและ
่
ั
้
ี
ิ
ี
ต่างประเทศรวมทงแนวทางแก้ปัญหาเบ้องต้น วเคราะห์ถงปัญหาของสารเคมตกค้างในผลผลตทส่งผลกระทบต่อผ้บรโภค
ื
ิ
ึ
ู
ิ
ในยุคปัจจุบัน
ั
ื
�
ี
ิ
3.2.2 ศึกษาปรชญาของเศรษฐกจพอเพยงในด้านการทาเกษตรกรรมและการทาธุรกิจ เพ่อทาความเข้าใจใน
�
�
ปรัชญาและวิธีการน�ามาใช้
ี
�
ี
3.2.3 ลงพ้นท่สารวจผู้ประกอบการท่ใช้กรรมวิธีการผลิตผักในระบบไฮโดรโปนิกส์ ระบบอควาโปนิกส์ และระบบ
ื
เกษตรอินทรีย์ โดยการสังเกต และการสัมภาษณ์เชิงลึกจากเกษตรกรถึงสภาพปัญหาในแต่ละระบบเดิม สอบถามความต้องการ
และปัจจัยที่มีต่อระบบและรูปแบบของอุปกรณ์ที่เหมาะต่อการใช้เพาะปลูกที่ช่วยลดการใช้สารเคมี
3.2.4 สัมภาษณ์ผู้เช่ยวชาญด้านการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ ด้านการปลูกผักอควาโปนิก และด้านเกษตรอินทรีย์
ี
ี
�
ื
ผู้วิจัยใช้แบบสัมภาษณ์ผู้เช่ยวชาญแต่ละท่านในประเด็นคาถามท่แตกต่างกัน พร้อมจดบันทึกและบันทึกเสียงสัมภาษณ์เพ่อ
ี
รวบรวมข้อมูลในแต่ละด้าน
3.2.5 วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลและปัญหาที่ได้จากการสังเกต การสัมภาษณ์ ของระบบเกษตรทั้ง 3 ระบบ
3.2.5 วเคราะห์ปรัชญาของเศรษฐกจพอเพยงในด้านการทาเกษตรกรรมและการทาธรกิจกบระบบเกษตรทง
ุ
ั
�
�
ิ
้
ั
ิ
ี
3 ระบบ เพื่อก�าหนดแนวทางการออกแบบระบบและอุปกรณ์ปลูกผักไฮโดรโปนิกส์อินทรีย์ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
3.3 ข้อมูลและขอบเขตของการวิจัย
ข้อมูลที่ใช้ในการวิจัย
3.3.1 ข้อมูลปฐมภูมิ คือ การลงพื้นที่ภาคสนามส�ารวจวิธีการ ระบบการเกษตรและปัญหาของระบบการปลูก
ี
�
ึ
ี
ผักไฮโดรโปนิกส์จานวน 10 แปลง โดยการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างเป็นเกษตรกรท่ปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ท่ข้นทะเบียนการรับรอง
มาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีหรือได้รับเครื่องหมาย GAP (Good Agricultural Practice) การปลูกผักอควาโปนิกส์
จ�านวน 1 แปลง และการปลูกผักอินทรีย์จ�านวน 2 แปลง ด้วยวิธีการสอบถามและสังเกตพร้อมบันทึกภาพ รวมทั้งสอบถาม
ี
ึ
ั
ื
ผู้เช่ยวชาญด้านต่างๆ ซ่งแปลงผักท้ง 3 ระบบอยู่ในพ้นท่จังหวัดสงขลา ลงสารวจและสัมภาษณ์ในช่วงเดือนกันยายน พ.ศ. 2559
�
ี
ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
189 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.