Page 68 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 68
th
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
ื
้
ึ
่
็
่
ี
ี
่
้
ี
้
ิ
่
่
้
ื
ี
็
่
่
่
ี
ื
้
ั
ิ
ู
�
พรอมทาความเขาใจการเปลยนแปลงทเกดขนของพนทโดยแบงเปน 2 ระยะ คอ ระยะท 1 ผวจยลงพนทอยางไมเปนทางการ
้
ตั้งแต่ปลายปี พ.ศ. 2552 - พ.ศ. 2554 และระยะที่ 2 ได้ชักชวนผู้สนใจร่วมลงส�ารวจอย่างไม่เป็นทางการในวันที่ 9 มกราคม
ื
ี
พ.ศ. 2554 ซ่งความคิดเห็นท้งหมดท่ได้สะท้อนว่า การประเมินพ้นท่เป็นภาพท่สัมผัสบรรยากาศในแนวทางเดียวกัน และทาให้
�
ี
ี
ั
ึ
ี
ื
ื
ิ
เห็นจุดเด่นของพ้นท่ชัดเจนย่งข้น น้นคือ ด้านกายภาพ/สถาปัตยกรรม ซ่งเม่อตรวจสอบความสาคัญต่อชุมชน ด้วยแบบสอบถาม
�
ึ
ึ
ั
แผนที่ชุมชน แล้วท�าให้ทราบว่า สิ่งที่ชุมชนให้ความสนใจ ประกอบด้วย สิ่งก่อสร้างและสิ่งแวดล้อม ผู้คน และเรื่องราวของ
ชุมชน ซึ่งผู้วิจัยขอสรุปรวมว่า คือ ความเป็นบรรยากาศ หรือ Sense or Spirit of Place ของถนนปากแพรกและโดยรอบ
พื้นที่ (ดูรูปที่ 5) ซึ่งยังเอื้อหรือก่อให้เกิดความหมายหรือความรู้สึกจากอดีตถึงปัจจุบันแก่ผู้อยู่อาศัยและผู้มาเยือนได้
รูปที่ 5 ตัวอย่างด้านกายภาพที่ชุมชนให้ความสนใจ (ซ้าย-ขวา บน-ล่าง) คือ ศาลหลักเมือง ประตูเมือง
ท่าน�้า ตลาดเก่า บ้านแต้มทอง บ้านคุณบุญผ่อง สิริเวชชะพันธุ์)
ที่มา: ผู้วิจัย (2559)
4.3 เรื่องราว/ ประวัติศาสตร์
ผู้วิจัยก็ได้รวบรวมเอกสารท่เก่ยวข้องกับประวัติศาสตร์ของชุมชนต้งแต่ปลายปี พ.ศ. 2552-2554 ซ่งเป็นข้อมูล
ั
ึ
ี
ี
ทุติยภูมิ และข้อมูลปฐมภูมิจากคาบอกเล่า (การพูดคุยและสัมภาษณ์ชุมชนอย่างไม่เป็นทางการ) ของชุมชนและผู้ท่เคย
�
ี
5
เกี่ยวข้องกับพื้นที่ ด้วยแบบสอบถามประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ซึ่งจากสรุปข้อมูลที่ได้มีดังนี้
“เดิมเป็นครอบครัวใหญ่ท่มีฐานะปานกลางถึงฐานะดีแล้วแบ่งมรดกให้ลูกหลานท่สืบทอดกันมาถึง 5 รุ่น และผู้คน
ี
ี
ในพื้นที่สืบเชื้อสายจีน ญวน และไทย เป็นหลัก แต่ขนาดของครัวเรือนในปัจจุบันมีแนวโน้มเป็นลักษณะครอบครัวเดี่ยว และ
ี
ี
ื
มีฐานะพอใช้ แต่ยังคงแฝงความเป็นเครือญาติอยู่บ้าง จากการสัมภาษณ์ยังมีผู้คนท่ค้าขายอยู่ในพ้นท่ประมาณ 60 เปอร์เซนต์
�
ี
ี
�
ึ
ท่เหลือเป็นการอยู่อาศัย ซ่งวิถีชีวิตในการดารงชีพของผู้คนท่อยู่อาศัยบนถนนปากแพรกยังคงดาเนินไปไม่ต่างจากในอดีต
ี
มากนัก แต่เป็นการปรับตัวตามสภาพสังคมและเศรษฐกิจในปัจจุบัน น่นคือ การค้าขาย โดยลักษณะของท่อยู่อาศัย (สถาปัตยกรรม)
ั
ที่เรียงตัวเป็นแถวขนานกับแม่น�้าแควใหญ่ ส่วนใหญ่เป็นอาคารพาณิชย์ 2 ชั้นและ 1 ชั้น ห้องแถวไม้ 2 ชั้น บ้านเดี่ยวไม้
ี
ี
2 ช้น บ้านเด่ยวปูน 2 ช้น และประมาณ 70 เปอร์เซนต์เป็นอาคารท่มีอายุระหว่าง 50 - 100 ปีข้นไปท่ยังคงรูปแบบเดิมไว้
ั
ี
ั
ึ
และซ่อมแซมตามสภาพให้สามารถใช้งานได้ ซึ่งปลูกบนที่ดินที่แบ่งได้ 3 เจ้าของ คือ 1) ที่ดินราชพัสดุดูแลโดยกรมธนารักษ์
{เว้นแต่โบราณสถานที่ขึ้นทะเบียนแล้วดูแลร่วมโดยกรมศิลปากรส�านักที่ 2 สุพรรณบุรี} 2) ที่ดินวัด และ 3) ที่ดินของเอกชน
5 เรื่องราว/ ประวัติศาสตร์ของคนใน ในปัจจุบันเป็นประวัติศาสตร์แนวใหม่ที่มุ่งศึกษาวิถีชีวิตของประชาชนในชุมชนท้องถิ่นต่างๆ โดยเอาชีวิต
ชาวบ้านเป็นศูนย์กลางของการศึกษา (ยงยุทธ ชูแว่น, 2551)
ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
63 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.