Page 66 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 66
th
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
โดยมีแนวคิดในการอธิบายแต่ละองค์ประกอบ เพื่อสามารถน�าไปก�าหนดกรอบการวิจัย วิธีการ และเครื่องมือต่อไปได้ ดังนี้
3.1 สถานที่ จากเรื่องการจัดการพิพิธภัณฑสถาน (สายันต์ ไพรชาญจิตร์ และเพ็ญพรรณ เจริญพร, 2552)
การอนุรักษ์เมืองเก่า (พรณรงค์ ชาญนุวงศ์, 2549) และแนวทางฟื้นฟูชุมชนเก่า (วรรณวิมล บุญกระจ่างโสภี, 2552)
สรุปความเป็นสถานที่ได้ว่า เป็นภาพที่เห็นได้โดยไม่ต้องมีค�าอธิบายและมีความหมายในบริบทของตัวพื้นที่หรือคนในชุมชน
ร่วมกัน ระบุพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ที่แน่นอน และหลักฐานทางสถาปัตยกรรม สถานที่ หรือบริเวณ เช่น โบราณสถาน ภูมิทัศน์
ี
ึ
ผังเมือง เป็นต้น และวิถีชีวิต ท่มีอายุไม่น้อยกว่า 50 ปี หรือมีคุณค่าตามพระราชบัญญัติโบราณสถานฯ แม้จะยังไม่ได้ข้นทะเบียน
โบราณสถานฯ ก�าลังจัดท�าหรือขึ้นทะเบียนแล้ว หรือขึ้นบัญชีโบราณสถานก็ได้
ุ
ิ
�
ื
3.2 เร่องราว/ ประวัติศาสตร์ จากเร่องความสาคัญและขอบเขตของประวัติศาสตร์ท้องถ่นในปัจจุบัน (ยงยทธ
ื
ชูแว่น, 2545) เรือนไทย บ้านไทย (ศรีศักร วัลลิโภดม, 2552) และเรื่องประวัติศาสตร์ในเว็ปไซต์ Wikipedia สรุปได้ว่า
ต้องเป็นข้อมูลที่ต้องเก็บแบบเข้าถึงพื้นที่และคนในปัจจุบัน เช่น เรื่องวิถีชีวิต ความเป็นมา โครงสร้างสังคม การเปลี่ยนแปลง
ในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต เป็นต้น โดยเน้นชีวิตของคนในชุมชนเป็นศูนย์กลาง องค์ความรู้ อย่างเช่น ทางด้านสังคม
เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม เป็นต้น ระบุเรื่องราวหรือประวัติศาสตร์ อย่างมีหลักฐานเป็นบันทึกลายลักษณ์อักษร ค�าบอกเล่า
หรือวัตถุที่ขุดค้นพบ
�
3.3 ผู้คน จากเร่องพิพิธภัณฑ์ภาคสนาม (ศูนย์มานุษยสิรินธร, 2551) และคนทาพิพิธภัณฑ์ (ศูนย์มานุษยสิรินธร,
ื
2557) แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส่วนร่วม สรุปได้ว่า การมีส่วนร่วม ของปัจเจกบุคคลหรือกลุ่มคน ซึ่งแบ่งเป็น 1) คน
ดั้งเดิม/ คนในท้องถิ่น (Insider) เป็นประชากรหลัก 2) ภาครัฐ ภาคนักวิชาการ หรือเครือข่ายพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น/คนนอก
(Outsider) ในการตั้งเป้าหมายหรือมีข้อตกลงร่วมกันเพื่อการพัฒนาพื้นที่ โดยแบ่งระดับการมีส่วนร่วมของผู้คน ดังนี้
ระดับที่ 1 ร่วมระบุปัญหา ความต้องการ
ระดับที่ 2 ร่วมคิดสร้างรูปแบบ และวิธีการพัฒนา
ระดับที่ 3 วิเคราะห์สาเหตุแห่งปัญหา พิจารณาสร้างทางเลือกที่เหมาะสม
ระดับที่ 4 ตัดสินใจก�าหนดวิธีด�าเนินการ ร่วมอภิปราย
ระดับที่ 5 ด�าเนินการ ติดตาม และประเมินผล
ซึ่งในขอบเขตการวิจัย คือ ผู้ที่อาศัยอยู่บนถนนปากแพรก ต�าบลบ้านเหนือ อ�าเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี (คาบเกี่ยวชุมชน
ึ
ิ
ั
ิ
บ้านหนือ 1 และ 2) โดยเร่มนับต้งแต่หน้าประตูเมืองจากบ้านเสตะพันธุไปจนถึงบ้านช้นปิ่นเกลียวซ่งอยู่ทางด้านวัดเทวสังฆารามฯ
หรือวัดเหนือ เป็นระยะทางยาวโดยประมาณ 1 กิโลเมตร ประกอบด้วยบ้านจ�านวน 104 หลังและมีการอยู่อาศัยโดยประมาณ
160 ครัวเรือน
3.4 กิจกรรรม จากเรื่องพิพิธภัณฑ์บันทึก (ศูนย์มานุษยสิรินธร, 2551) ที่เกี่ยวกับคนท�าพิพิธภัณฑ์ และแนวคิด
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย สามารถสรุปได้ว่า มีกิจกรรม วัฒนธรรมประเพณี เทศกาลวันส�าคัญ ที่เชื่อมโยงความสัมพันธ์กับชุมชน
หรือสอดคล้องกับวิถีชีวิตวัฒนธรรม เกิดการด�าเนินงานซ�้าในรอบปี หรือความต่อเนื่องตลอดทั้งปี/ทุกปี (ปฏิทิน)
ิ
3.5 งบประมาณ จากเอกสารเร่องการบริหารจัดการภูมิปัญญาท้องถ่นและพิพิธภัณฑ์ชุมชนท้องถ่น (สายันต์
ิ
ื
ไพรชาญจิตร์, ม.ป.ป.) พิพิธภัณฑ์งานออกแบบผลิตภัณฑ์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2535) และคู่มือพัฒนาภูมิทัศน์เมือง
เพื่อการท่องเที่ยว (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538) สรุปได้ว่า ระบุแหล่งทุน มีเงินทุนที่รองรับแผนการบริหารจัดการด้าน
ต่างๆ
จากองค์ประกอบและข้อก�าหนดข้างต้น เพื่อจัดตั้งพิพิธภัณฑ์ที่มีชีวิต ซึ่งเมื่อน�ามาด�าเนินการตามแนวคิดการวิจัย
เชิงปฏิบัติการแล้ว จะเกิดประโยชน์โดยตรงต่อพื้นที่ ชุมชน และสามารถสร้างกรอบแนวคิดพิพิธภัณฑ์ที่มีชีวิต โดยใช้การ
ตรวจสอบทั้ง 5 องค์ประกอบนี้ และเพื่อให้สอดคล้อง อีกทั้งสามารถรองรับการด�าเนินงานจริงที่เกิดขึ้นในพื้นที่ จึงเรียงล�าดับ
องค์ประกอบใหม่เป็น 1) งบประมาณ 2) สถานที่ 3) เรื่องราว/ ประวัติศาสตร์ 4) กิจกรรม 5) ผู้คน ดังรูปที่ 4
ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
61 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.