Page 65 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 65
th
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
ดังน้น จะเห็นว่าส่วนประกอบของพิพิธภัณฑ์ท่มีชีวิต จากข้อมูลข้างต้น ได้แก่ 1) สถานท่ 2) ประวัติศาสตร์ 3) ผู้คน
ี
ี
ั
และ 4) กิจกรรม ซึ่งทั้งหมดนี้เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของพื้นที่ หากถูกฟื้นฟูให้ยังประโยชน์ได้ตามที่ ยงธนิศร์ พิมลเสถียร
ั
อาจารย์ประจ�าคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ในขณะน้น ระบุไว้ในบันทึก
การประชุมประจ�าปีอิโคโมสไทยและการสัมมนาวิชาการประจ�าปี 2547 ก็สามารถเป็น Living ได้ และเมื่อน�ามาเปรียบเทียบ
กับกรณีศึกษาที่มีลักษณะเป็นพิพิธภัณฑ์ที่มีชีวิตทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศ เช่น เมืองจอร์จทาวน์ ประเทศมาเลเซีย
ี
ี
ี
เมืองคาวาโกเอะ (Kawagoe City) และเมืองทาคายามะ ประเทศญ่ปุ่น เป็นต้น ท�าให้พบว่า ยังต้องมองค์ประกอบท่ 5) งบประมาณ
หรือเงินทุนสนับสนุนซึ่งเป็นปัจจัยด�าเนินงานต่างๆ ที่ขาดไม่ได้ในยุคปัจจุบัน อีกทั้งในองค์ประกอบที่ 3) ผู้คนที่เกี่ยวข้องกับ
ี
ี
ึ
พ้นท่ซ่งมีชุมชนเป็นหัวใจหลัก ยังต้องอาศัยผู้น�าและเครือข่ายท่หลากหลายเข้ามามีส่วนร่วมอย่างภาครัฐ และนักวิชาการ NGO
ื
หรือภาคเอกชนเข้ามาเสริมให้ประสบผลส�าเร็จ
รูปที่ 2 กรณีศึกษาพิพิธภัณฑ์ที่มีชีวิต (ซ้าย-ขวา) เมืองจอร์จทาวน์ เมืองคาวาโกเอะ เมืองทาคายามะ
ที่มา: รัตนิน สุพฤฒิพานิชย์ (2554) Japan National Tourism Organization (n.d.)
และเว็ปไซต์บริษัท ชิลสแควร์ทราเวล จ�ากัด (2559)
ผู้วิจัยจึงขอสรุปองค์ประกอบส�าคัญของพิพิธภัณฑ์ที่มีชีวิต ดังรูปที่ 3
รูปที่ 3 ไดอะแกรมสรุปองค์ประกอบของพิพิธภัณฑ์ที่มีชีวิต
ที่มา: ผู้วิจัย (2559)
Vol. 8 60