Page 229 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 229
Research Proceedings in The 9 Graduate Integrity Conference: April, 2018
th
การศึกษาเปรียบเทียบการรับรู้แนวคิดในการออกแบบอาคาร
ระหว่าง กลุ่มนักศึกษาที่เรียนการออกแบบ และกลุ่มนักศึกษาที่ไม่เรียนออกแบบ :
กรณีศึกษา: อาคาร Student Activity Center
A Comparative Study of the Perception on the Architectural Design Concept between
Design Students and Non-design Students: A Case Study of Student Activity Center
ธีรเชษฐ์ พงษ์นะเรศ ฤทธิรงค์ จุฑาพฤฒิกร ญาณินทร์ รักวงศ์วาน 3
1
2
บทคัดย่อ
ด้วยความสงสัยว่า บุคคลทั่วไปสามารถรับรู้ ได้ถึงแนวความคิดที่สถาปนิกถ่ายทอดออกมา ยังอาคารที่ออกแบบได้
ตรงกันหรือไม่ งานวิจัยช้นน้จึงสนใจศึกษา ระดับการรับรู้สภาพแวดล้อมทางทัศนาการของอาคารศูนย์กิจกรรมนักศึกษา
ิ
ี
(SAC) มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ระหว่าง 2 กลุ่มนักศึกษา คือ 1) กลุ่มที่เรียนด้านออกแบบ และ 2) กลุ่มที่ไม่ได้เรียนด้านการ
โดยวิธีการวิจัยท่วิจัยน้เลือกใช้เป็นวิธีการวิจัยแบบผสานวิธี (Mix Method) ซ่งข้อค้นพบได้ถูกวิเคราะห์ บรรยายอธิบาย
ี
ึ
ี
พร้อมกับค่าสถิติ
วิจัยใช้วิธีการเก็บข้อมูล 3 วิธีการ คือ 1) แบบสอบถามประเมินสัญญาณช้แนะองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรม
ี
กับกลุ่มตัวอย่างทั้งสองกลุ่ม กลุ่มละ 50 คน 2) สัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษาทั้งสองกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน เพื่อสะท้อนการรับรู้
สัญญาณชี้แนะ และ 3) สัมภาษณ์สถาปนิกผู้ออกแบบถึงแนวคิดการออกแบบและสัญญาณชี้แนะที่ผู้ออกแบบเลือกใช้ ข้อมูล
�
ี
�
ี
ี
ท่ได้มาจากท้ง 3 วิธีการ จะทาให้เข้าใจว่าสัญญาณช้แนะองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมท่สถาปนิกออกแบบไว้สามารถทาให้
ั
ผู้ใช้อาคารเข้าใจแนวคิดของอาคาหรือไม่
ื
ี
�
ผลการวิจัยพบว่า จากแนวคิดของอาคารศูนย์กิจกรรมนักศึกษาท่นาเสนอแนวคิด “ร่าเริง ต่นเต้น สนุกสนาน”
นักศึกษาท่เรียนด้านการออกแบบจะมีการรับรู้สัญญาณช้แนะดีกว่านักศึกษาท่ไม่ได้เรียน ส่วนสัญญาณช้แนะท่สามารถทาให้
ี
ี
ี
ี
ี
�
นักศึกษาผู้ใช้อาคารทั้งสองกลุ่มรับรู้ไม่แตกต่างกันคือ รูปทรงอาคาร สีของอาคาร วัสดุอาคาร พื้นผิวอาคาร และลวดลาย
บนผนังภายนอกอาคาร สัญญาณชี้แนะที่ทั้งสองกลุ่มรับรู้ต่างกัน คือ ผังพื้นของอาคาร ด้านการจัดวางผังพื้นในอาคาร และ
การใช้แสงภายในอาคาร
ค�าส�าคัญ: ศูนย์กิจกรรมนักศึกษา การรับรู้ สัญญาณชี้แนะ องค์ประกอบทางสถาปัตยกรรม
1 สาขาวิชาสถาปัตยกรรมภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
2 สาขาวิชาสถาปัตยกรรมภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
3 ภาควิชาสถาปัตยกรรมภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
Vol. 9 222