Page 226 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 226

�
                                             ี
                     ึ
                                                            �
              ได้ยาก ซ่งเกิดจากปริมาณแฟ้มเอกสารท่มากเกินไป ควรทาสาเนาจัดเก็บ (Scan) เข้าเคร่องแม่ข่าย (Server) หรือคอมพิวเตอร์
                                                                                ื
                   �
                                        ื
                                                  ี
                                                                                      ี
              แล้วทาการจัดเก็บเป็นหมวดหมู่เพ่อการค้นหาท่ง่าย สะดวกรวดเร็ว ส่วนปัญหาปริมาณเอกสารท่มากเกินไปควรจัดเก็บเอกสาร
              บางส่วนที่สามารถท�าได้ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อลดปริมาณกระดาษไปในตัวด้วย





























                                       รูปที่ 7 แผนผังสรุปการวิเคราะห์หน้าที่ใช้สอยและกิจกรรม
                                                ที่มา: จันทนี เพชรานนท์ (2542)



                                         ี
                                                                                                       ี
                      จากแผนผังข้างต้น  (รูปท่  7)  จะแสดงให้เห็นการวิเคราะห์จากข้อมูล  2  ส่วน  ได้แก่  การวิเคราะห์หน้าท่ใช้สอย
              และการวิเคราะห์กิจกรรม  โดยใช้อ้างอิงจากการศึกษาแนวทางออกแบบ  โดยจากการสารวจสภาพแวดล้อมสานักงานเดิม
                                                                                  �
                                                                                                  �
                                 ั
                                                                                                       ั
                               �
                                                ิ
                                                    ้
                                          ี
                                                 ั
                                                                                                         ์
                   ึ
                                                                                      �
                                                                                              ึ
                                                                                        ้
                                                                                ั
                             ้
                             ื
                                                         ิ
                                                                                                    ั
              และศกษาจากผังพนสานกงาน โดยมผลการวจยดานพฤตกรรมการประสานงานของพนกงาน ทาใหทราบถงความสมพนธของ
              พื้นที่ จากนั้นน�าไปจัดกลุ่มพื้นที่ใช้สอย (รูปที่ 8) ส่วนด้านพฤติกรรมการใช้กระดาษของพนักงาน จากข้อมูลขนาดกระดาษ
              ที่ใช้งานและจ�านวนเอกสารที่ใช้งานต่อวันท�าให้ทราบถึงขนาดของพื้นที่ใช้สอย  เรื่องของเครื่องเรือน  เช่น  ขนาดโต๊ะท�างาน
              เครื่องเรือนเพิ่มเติมพิเศษและพื้นที่ส่วนกลางส�านักงาน แล้วน�ามาประกอบข้อมูลร่วมกับการจัดกลุ่มพื้นที่ใช้สอย จะสามารถ
              เสนอแนะการจัดวางผังพื้นส�านักงานออกแบบชั้น 3 (ฝ่ายทาง) ได้ดัง (รูปที่ 9) และส�านักงานออกแบบชั้น 6 (ฝ่ายอาคาร)
                        ี
                              ึ
              ได้ดัง  (รูปท่  10)  ซ่งจากการสารวจปัญหาการเดินเอกสารภายในสานักงาน  แต่ละกลุ่มงานมีความเห็นว่า  ความล่าช้าของ
                                                                  �
                                      �
                                                               �
                                                   �
              การส่งต่อเอกสารระหว่างกลุ่มงาน  เป็นปัญหาสาคัญ  จึงควรนาระบบการติดตามเอกสารอิเล็กทรอนิกส์เข้ามาแก้ไขปัญหา
                                                                          �
                                                                    ื
              โดยมีการจัดอบรมบุคลการในการใช้โปรแกรมเพ่อประสิทธิภาพสูงสุดเพ่อการทางานท่รวดเร็วและถูกต้อง ปัญหารองลงมาคือ
                                                   ื
                                                                               ี
              การค้นหาเอกสารเก่าไม่เจอหรือค้นหาได้ยาก ควรนาระบบการจัดทาแฟ้มสะสมงานอัตโนมัติและจัดหมวดหมู่เอกสารท้งรูปแบบ
                                                     �
                                                                �
                                                                                                      ั
                                                                                              �
                                                                                         ื
              กระดาษและอิเล็กทรอนิกส์ โดยมการจัดอบรมบุคลการในการใช้โปรแกรมเพ่อประสิทธิภาพสูงสุดเพ่อการทางานท่รวดเร็วและ
                                                                       ื
                                                                                                   ี
                                       ี
              ถูกต้อง ปัญหารองลงมา คือ ประมาณเอกสารที่มากเกินไป ควรท�าการจัดเก็บเอกสารกระดาษให้เป็นรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์
                                                                                               ั
                     ี
              ให้มากท่สุด เพื่อลดปริมาณกระดาษลง จะส่งผลไปยังการลดจานวนตู้เก็บเอกสาร โดยกลุ่มงานบริหารงานท่วไปและกลุ่มงาน
                                                             �
              ประมาณราคายังจ�าเป็นต้องมีตู้เก็บเอกสารอยู่ ส่วนกลุ่มงานอื่นๆ สามารถลดจ�านวนตู้เก็บเอกสารได้บ้าง เนื่องจากรูปแบบ
                                                                                                    ู
                                                     ื
                                                     ่
              งานส่วนใหญ่จะต้องพมพ์ออกมาเป็นกระดาษแต่เนองจากเขยนแบบด้วยโปรแกรมคอมพวเตอร์  ทาให้จดเก็บในรปแบบไฟล์
                               ิ
                                                            ี
                                                                                         �
                                                                                             ั
                                                                                 ิ
                                                                  ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
                                                            219   คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์  สจล.
   221   222   223   224   225   226   227   228   229   230   231