Page 230 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 230

Abstract

                      It was curious that whether or not people can perceive ideas of an architect which convey through
              buildings he/she designed. This research, therefore, investigated the level of perception through building signal
              at  the  Student  Activity  Center  (SAC)  from  2  groups  of  student,  firstly  who  study  design  and  secondly  who
              do  not,.  The  research  used  mix  method  to  acquire  the  answer.  The  findings  were  analyzed  and  described
              together with statistic data.

                      The data was collected by 3 methods. 1) Questionnaires which use for evaluating architectural signals
              and collecting from 50 students in each groups. 2) Interview the 5 representative samples from both groups
              to collect vital keywords which reflect their perception to each signal. 3) Interview the architect who designed
              this architecture to recheck selected signals he used. The data from such methods could make us, whether
              or not understand such designed signals can be perceived clearly by the users.

                      It  was  found  that  from  the  concept  of  the  SAC  which  present  “cheerfulness,  exciting  and  enjoy”,

              students, who study design have a better perception on the building concept than another group of student.
              The  building  signals  that  students  in  both  groups  perceived  in  the  same  direction  are  building  form,  color,
              materials,  texture  and  pattern  on  building  walls.  The  building  signal  that  students  in  both  groups  perceived
              differently are building floor plan and interior lighting.


              Keywords: The Student Activity Center, Perception, Building Signal, Architectural Elements



              1. บทน�า

                                                                         ื
                      สถาปัตยกรรม คือ งานท่สร้างสรรค์ การออกแบบอาคารท่ไม่เพียงแต่เพ่อประโยชน์ใช้สอย แต่ยังต้องศึกษาถึงเทคโนโลย ี
                                                               ี
                                        ี
              และความงามให้สอดคล้องกลมกลืนเหมาะสมกับสภาพแวดล้อม  สถาปัตยกรรมยังมุ่งเน้นส่อความหมายทางสัญลักษณ์ด้วย
                                                                                    ื
              เช่น รูปร่าง รูปทรง สี
                                         ื
                      จากการศึกษางานวิจัยเร่องความเข้าใจความหมายทางอารมณ์ระหว่างกลุ่มผู้ใช้กับกลุ่มนักออกแบบ  กรณีศึกษา
              โถงโรงแรม พบว่านักออกแบบกับคนท่วไปมีการรับรู้ ตีความ หรือเข้าใจความหมายทางสถาปัตยกรรมแตกต่างกัน (ชนกนาถ
                                            ั
              ณ ระนอง, 2542) ซึ่งอาจเกิดจากหลายสาเหตุได้แก่ การรับรู้สัญญาณชี้แนะต่างกัน หรือมีมิติฐานมูลทางความรู้สึกต่างกัน
                                                                  ิ
              หรือมีประสบการณ์ในการฝึกฝนทางสถาปัตยกรรมต่างกัน (วิมลสิทธ์ หรยางกูร, 2541, หน้า 173-180) รวมถึงความแตกต่าง
              จากลักษณะทางประชากรศาสตร์ และภูมิหลังทางสังคม-วัฒธรรม (วิมลสิทธ์ หรยางกูร, 2541, หน้า 3-4; เลอสม สถาปิตานนท์,
                                                                      ิ
              2558, หน้า 44-48)
                      ดังน้นการออกแบบและวางแผนของสถาปนิกท่ไม่ได้ตระหนักถึงความรู้สึก ทัศนคติ การตีความในการรับรู้สัญญาณ
                                                         ี
                         ั
                                          ั
                ี
              ช้แนะของคนท่วไป อาจจะทาให้คนท่วไปไม่สามารถเข้าใจความหมายทางสถาปัตยกรรม ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ของสถาปนิก
                          ั
                                   �
              (วิมลสิทธิ์ หรยางกูร, 2541, หน้า 26-27)
                      ศูนย์กิจกรรมนักศึกษา (Student Activity Center, SAC) เป็นอาคารเก่าที่ถูกน�ามาพัฒนาใหม่ให้เป็นศูนย์กิจกรรม
                                                                                                  �
              นักศึกษา ท่มีความโดดเด่น แตกต่างจากอาคารท่วๆ ไปภายในมหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต ด้วยการนาเสนออาคาร
                                                   ั
                       ี
                                    ื
                                                                                                     ี
                                                                 ี
              ในแนวคิดสนุกสนาน ร่าเริง ต่นเต้น กระตุ้นความรู้สึกของนักศึกษาท่มาใช้อาคารให้รับรู้ถึงแนวคิด ตามวัตถุประสงค์ท่สถาปนิก
              วางไว้  (สาโรซ  พระวงค์,  2558)  แต่เนื่องจากนักศึกษาที่มาใช้อาคารมีความแตกต่างกัน  เช่น  อายุ  เพศ  ทัศนคติ  อารมณ์
                                                                  ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
                                                            223   คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์  สจล.
   225   226   227   228   229   230   231   232   233   234   235