Page 231 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 231

th
              Research Proceedings in The 9  Graduate Integrity Conference: April, 2018







             ประสบการณ์ รวมถึงลักษณ์พื้นฐานแตกต่างกันทางความรู้สึก จึงอาจจะส่งผลต่อการรับรู้ ตีความ และการเข้าใจความหมาย
             ในสิ่งที่สถาปนิกถ่ายทอดผ่านงานสถาปัตยกรรมได้แตกต่างกัน (วิมลสิทธิ์ หรยางกูร, 2541, หน้า 3-7)
                    วิจัยฉบับน้สนใจถึงแนวทางการออกแบบท่สถาปนิกส่อแนวคิด  สนุกสนาน  ร่าเริง  ต่นเต้น  ผ่านองค์ประกอบทาง
                                                             ื
                            ี
                                                    ี
                                                                                     ื
             สถาปัตยกรรมของอาคารศูนย์กิจกรรมนักศึกษา  โดยผู้วิจัยพยายามค้นหาว่า  การถ่ายทอดแนวคิดผ่านงานสถาปัตยกรรม
             ของสถาปนิก จะสามารถสื่อความหมายให้ผู้ใช้ เข้าใจถึงแนวคิดของสถาปนิกได้หรือไม่อย่างไร รวมถึงผู้ใช้ที่มีลักษณ์พื้นฐาน
             ประสบการณ์ต่างกันจะสามารถรับรู้  และเข้าใจความหมายทางสถาปัตยกรรม  ได้เหมือนกันหรือไม่  อย่างไร  โดยน�าอาคาร
                                               ื
                                                                                     ี
                                                                                             ั
             ศูนย์กิจกรรมนักศึกษา มาเป็นกรณีศึกษา เน่องจากมีการกาหนดแนวความคิดในการออกแบบท่ชัดเจนไว้ต้งแต่เร่มต้นก่อนท ่ ี
                                                                                                  ิ
                                                         �
             จะสร้างอาคาร
             2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย
                                                                         ี
                    1. การศึกษาแนวคิดการออกแบบของอาคารศูนย์กิจกรรมนักศึกษา ท่ถ่ายทอดผ่านลักษณะกายภาพและการจัดวาง
             สัญญาณชี้แนะผ่านองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรม
                    2. ศกษาเปรยบเทยบระดบของการรบร้  สภาพแวดล้อมทางทศนาการของอาคารศนย์กจกรรมนกศกษา  ระหว่าง
                                        ั
                                  ี
                              ี
                                                  ู
                                                ั
                        ึ
                                                                                       ิ
                                                                                   ู
                                                                                                ึ
                                                                                              ั
                                                                    ั
             กลุ่มนักศึกษาที่เรียนด้านการออกแบบ และนักศึกษาที่ไม่ได้เรียนด้านการออกแบบ
                    3. เพ่อหาแนวทางในการออกแบบอาคาร ท่ผู้ใช้จะมีความเข้าใจความหมายทางสถาปัตยกรรม ตรงตามวัตถุประสงค์
                                                     ี
                         ื
             ของสถาปนิก ต่อสภาพแวดล้อมทางทัศนาการของอาคารศูนย์กิจกรรมนักศึกษา
             3. แนวคิดและทฤษฎี
                    ทฤษฎีที่ใช้ในการศึกษาวิจัยฉบับนี้ประกอบไปด้วย 4 ประเด็นหลัก คือ
                    1. แนวคิดเกี่ยวกับการออกแบบอาคารสถาปัตยกรรม (เลอสม สถาปิตานนท์, 2558, หน้า 1-4)
                    2. แนวความคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับอาคาร สาโรช พระวงค์. (2557)
                    3. องค์ประกอบส�าคัญในการออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน (เลอสม สถาปิตานนท์, 2558, หน้า 81-109)
                    4. แนวความคิดและทฤษฎีเก่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมกายภาพ และการตอบสนองทาง
                                           ี
             ความรู้สึก (วิมลสิทธิ์ หรยางกูร, 2541, หน้า 8)

                    จากการทบทวนวรรณกรรมท�าให้ผู้วิจัยทราบถึงแนวทาง  รวมถึงขั้นตอนต่างๆ  ในการออกแบบงานสถาปัตยกรรม
                                    ้
                                             ั
                                                                                       ุ
                                                                                  ิ
                                                                                     ั
                                               ั
                                                                                              ์
                                                                         �
             ทมความสมบรณทงด้านการใชสอย และปจจยต่างๆ ในการออกแบบ เช่น การกาหนดแนวคด วตถประสงคของการออกแบบ
                       ู
               ี
              ่
              ี
                          ์
                           ั
                           ้
             การศึกษาพฤติกรรม สังคม วัฒนธรรมของผู้ใช้อาคาร เป็นต้น
                    เพ่อท่จะได้ออกแบบอาคารให้ตอบสนองต่อการใช้สอย  ความต้องการทางจิตใจ  และความสวยงาม  การออกแบบ
                         ี
                      ื
                                                                                                        ้
             งานสถาปตยกรรม หรอการออกแบบสภาพแวดลอมทางทศนาการ จงมความสาคญมาก เนองจากมนษยมการรบรสภาพแวดลอม
                                                                        ั
                                                                                                ู
                                                                               ่
                                                                               ื
                                                                                                ้
                             ื
                                                                                              ั
                    ั
                                                       ั
                                                                                      ุ
                                                 ้
                                                                                         ์
                                                               ึ
                                                                                          ี
                                                                      �
                                                                 ี
                                                                ื
             ทางด้านกายภาพ เช่น สี รูปทรง สัญลักษณ์ สัดส่วน มาตราส่วน พ้นผิว ลวดลาย แสง เงา และตีความออกมาเป็นความรู้สึก
             ต่อสภาพแวดล้อมนั้นๆ หรืออาจจะเรียกได้ว่าเป็นกระบวนการรับรู้ และเกิดพฤติกรรมตอบสนองต่อสภาพแวดล้อม
                                                                                            ี
                       ั
                    ดังน้นการออกแบบงานสถาปัตยกรรม นักออกแบบจึงต้องศึกษาปัจจัยท่มีผลต่อการรับรู้ของมนุษย์ท่มีต่อสภาพแวดล้อม
                                                                        ี
                    �
             โดยการนาองค์ประกอบของการออกแบบ 5 ด้านมาใช้ ได้แก่ องค์ประกอบทางด้านธรรมชาติ องค์ประกอบทางด้านกายภาพ
             องค์ประกอบทางด้านสังคม วัฒนธรรม องค์ประกอบทางด้านเทคโนโลยี และองค์ประกอบด้านความงาม เพื่อสร้างสัญญาณ
                                                                                 ื
                   ี
              ี
                                                                            �
             ช้แนะท่มีความเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ของการออกแบบงานสถาปัตยกรรม  สาหรับส่อสารความคิดผ่านงานออกแบบ
                                                                                      ั
                                                                                           ื
                        ี
             หรือสัญญาณช้แนะไปยังผู้ใช้อาคาร ให้เกิดการรับรู้และเข้าใจตามวัตถุประสงค์ของนักออกแบบ ท้งในเร่องการใช้สอย รวมถึง
             ความรู้สึกทางด้านจิตใจของผู้ใช้อาคาร เลอสม สถาปิตานนท์ (2558: 5-86)
             Vol. 9                                       224
   226   227   228   229   230   231   232   233   234   235   236