Page 239 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 239

Research Proceedings in The 9  Graduate Integrity Conference: April, 2018
                                                  th







                          -  สีภายในอาคาร จะเป็นการใช้สีที่มีความสดใส เช่น สีชมพู สีเขียวตอง สีม่วง สีเขียวขี้นกการเวก เพื่อ
             กระตุ้นให้นักศึกษารู้สึกสนุกสนาน
                                                                                            ื
                          -  ลักษณะของวัสดุภายในอาคาร เสริมการใช้พ้นท่ด้วยการเติมตาข่ายให้ไปนอนเล่นในพ้นท่ระหว่างช้นลอย
                                                              ื
                                                                ี
                                                                                                      ั
                                                                                               ี
             เพื่อความตื่นเต้น
                          -  หลอดไฟ  แสงไฟภายในอาคาร  มีการน�าหลอดไฟมาติดไว้บนเพดาน  และผนังด้านข้างทางเดิน  รวมถึง
             มีการเจาะช่องแสงเพิ่ม เพื่อให้แสงเข้ามากระทบกับสีภายในอาคาร ท�าให้สีมีความสดใสมากขึ้นด้วย
                          -  พื้นผิวภายในอาคาร จะเป็นพื้นผิวปูนมีลักษณะราบเรียบแต่สดใสไปด้วยการทาสี รวมถึงพื้นผิวแบบหิน
             ซึ่งมีลักษณะขรุขระไม่ราบเรียบ ช่วยเพิ่มความแปลกให้กับผู้ที่เข้ามาในอาคาร

                    7.2  แนวทางการออกแบบที่ท�าให้รับรู้แนวคิดของสถาปนิก คือ

                        แนวคิดของสถาปนิก และการเลือกใช้วัสดุต่างๆ ท่ส่อความหมาย และมีความชัดเจนจึงทาให้นักศึกษาสามารถ
                                                               ื
                                                                                          �
                                                              ี
             รับรู้แนวคิดของสถาปนิกได้  ซึ่งผู้วิจัยจะน�าสัญญาณชี้แนะที่สถาปนิกใช้  ในการสื่อความหมายผ่านงานออกแบบอาคารศูนย์
             กิจกรรมนักศึกษา (Student Activity Center) มาอภิปรายดังต่อไปนี้
                        1. สัญญาณชี้แนะภายนอกอาคาร
                          -  รูปทรงอาคาร  จากการเก็บข้อมูลปรากฏว่านักศึกษาทั้ง  2  กลุ่มรับรู้ได้ถึงความแปลก  ความสนุกสนาน

             และ ความกว้างของอาคาร SAC ได้เหมือนกัน ทั้งนี้สถาปนิกมีการน�าไม้ซีดาร์ มาห่อหุ้มรูปทรงของอาคารไว้ทั้งหลัง เป็นสี
             เดียวกันทั้งอาคาร รวมถึงลักษณะของอาคารเป็นทรงเรขาคณิตท�าให้มีสัดส่วนของด้านกว้าง ยาว และ สูง เป็นต้น
                          -  สีอาคาร  จากการเก็บข้อมูลกับนักศึกษา  ปรากฏว่านักศึกษาทั้ง  2  กลุ่ม  รับรู้ถึงความมีสีสัน  เพราะว่า
             สีของตัวอาคารเป็นสีขาว  จึงตัดกันกับสีของไม้ซีดาร์  เป็นเทคนิคการใช้สีแบบ  “เปรียบต่าง”  โดยการใช้สีเข้มปริมาณ  80%
             ซึ่งเป็นเปลือกห่อหุ้มตัวอาคาร ตัดกับตัวสีอาคาร คือสีขาว จึงท�าให้เห็นถึงความหลากหลายของสีได้ชัดเจน
                                                                                    ั
                                                             ั
                          -  วัสดุอาคาร จากการเก็บข้อมูลกับนักศึกษาท้ง 2 กลุ่ม ปรากฏว่า นักศึกษาท้ง 2 กลุ่มรับรู้ได้ถึงความแปลก
             ความสนุก  รวมถึงความหรูหราของวัสดุอาคารศูนย์กิจกรรมนักศึกษา  ได้เหมือนกัน  ซ่งเกิดจากการนาวัสดุต่างๆ  มาใช้
                                                                                            �
                                                                                 ึ
                                                                            ิ
                ี
             ในท่ๆ  มันแปลกตาไปจากเดิมทาให้วัสดุดูมีราคา  หายาก  และสะดุดตา  เช่น  ช้นไม้ซีดาร์โดยปกติควรจะอยู่บนหลังคา
                                      �
             แต่สถาปนิกก็น�ามาห่อหุ้มตัวอาคารทั้งหลัง เป็นต้น
                                                               ั
                             ื
                          -  พ้นผิวอาคาร จากการเก็บข้อมูลกับนักศึกษาท้ง 2 กลุ่ม ปรากฏว่านักศึกษารับรู้ถึงความแปลก ความสนุก
             รวมถึงหลายพื้นผิวที่ได้เหมือนกัน  เนื่องจากมีความแตกต่างระหว่างพื้นผิวของตัวอาคารมีความราบเรียบ  ขัดกับพื้นผิวของ
             เปลือกหุ้มห่ออาคาร เป็นพื้นผิวไม่ราบเรียบ
                          -  แนวผนังภายนอกอาคาร  จากการเก็บข้อมูลของนักศึกษาทั้ง  2  กลุ่ม  ปรากฏว่า  นักศึกษารับรู้ถึงเป็น
             เส้นตรงและ  สะดุดตา  แต่ไม่รับรู้ถึงความสนุกสนานได้เหมือนกัน  เนื่องจากการจัดวางแนวผนังมีความชัดเจน  ลักษณะของ
                                                                                                     ี
                                                                          ั
             แนวผนังอาคารเป็นแนวยาวเส้นตรงสังเกตง่าย ซ่งคล้ายกับแนวผนังของอาคารท่วๆ ไป ไม่ได้มีความแปลก แต่ส่วนท่มีความ
                                                  ึ
             สะดุดตาของแนวผนัง น่าจะเกิดจากความแปลกของไม้ซีดาร์จ�านวนมาก ที่สถาปนิกน�ามาใช้เรียงบนแนวผนัง
                          -  ลวดลายบนผนังภายนอกอาคาร จากการเก็บข้อมูลของนักศึกษาทั้ง 2 กลุ่ม ปรากฏว่า นักศึกษารับรู้ถึง
                                                                              ื
             ความสนุกสนาน  ต่นเต้น  กระตุ้นการเรียนรู้  ได้เหมือนกัน  เพราะว่าเป็นลวดลายท่ส่อถึงกิจกรรมภายในอาคาร  จึงทาให้ม ี
                                                                                                       �
                            ื
                                                                             ี
             ความน่าสนใจ  และกระตุ้นการเรียนรู้  รวมถึงการใช้สีขาวมาวาดเป็นลวดลายกราฟิก  เพ่อให้ตัดกับสีของไม้ซีดาร์หรือผนัง
                                                                                 ื
             ภายนอกอาคาร
                        2. สัญญาณชี้แนะภายในอาคาร
                          -  การจัดวางผังพื้นภายในอาคาร  จากการเก็บข้อมูลของนักศึกษาท้ง  2  กลุ่ม  ปรากฏว่า  นักศึกษารับรู้
                                                                              ั
             ผังพื้นภายในเป็นเส้นตรง แสดงว่านักศึกษาไม่สามารถรับรู้ถึงความสนุก ความตื่นเต้น ซึ่งผู้วิจัยวิเคราะห์ว่านักศึกษาจะรับรู้
             ได้จากสิ่งที่มองเห็นทางกายภาพเป็นส�าคัญ




             Vol. 9                                       232
   234   235   236   237   238   239   240   241   242   243   244