Page 170 - The 13th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 170
มรดกวัฒนธรรม ทั้งทางดานศิลปกรรม สถาปตยกรรม ประวัติศาสตรหรือวัฒนธรรม ในการบริหารจัดการอาคารที่มีคุณคา
ดังกลาวนี้ จำเปนตองมีการกำหนดขั้นตอนและวิธีการที่รอบคอบ กอนการตัดสินใจดำเนินการใด ๆ เพื่อใหเปนไปตาม
กระบวนการอนุรักษตามหลักสากล และคงคุณคาความสำคัญนี้ไวอยางตอเนื่องและยั่งยืน (ศิริชัย พงษสุชาติ, 2561) ในการ
วิจัยนี้ไดนำแนวทางในการอนุรักษชุมชนพื้นถิ่น (ประสงค เอี่ยมอนันต, 2540) มาดำเนินการวิจัย โดยศึกษารูปแบบของ
สิ่งกอสราง บันทึกไวเปนหลักฐาน รวบรวมขอมูลสิ่งกอสรางเดิม และศึกษาการอนุรักษวัสดุ โดยพิจารณาการใชวัสดุในงาน
ื
ิ
ั
ุ
่
ั
ิ
ิ
ุ
ั
่
ี
อนรกษเพอไมใหเกดการใชวสดุทผดแปลกไปจากวสดเดม
จากการทบทวนวรรณกรรม ผูวิจัยพบโครงการที่เกี่ยวของ คือ โครงการอนุรักษฟนฟูยานตลาดนอยและพื้นท ่ ี
ตอเนื่อง (สถาบันอาศรมศิลป, 2558) มีเปาหมายเพื่อใชเปนกรอบในการพัฒนาและปรับปรุงฟนฟูยาน มีการเสนอแนะแนว
ิ
ทางการอนุรักษดวยการรักษาความดั้งเดม ไดแก องคประกอบดั้งเดิม วัสดุที่ใกลเคียง และแนวทางในการปรับปรุงอาคาร
ไดแก รูปแบบประตู หนาตางและการใชสีอาคาร แตไมพบการรวบรวมองคประกอบลักษณะเดนของสถาปตยกรรมจีนและ
ปญหาที่กระทบตออาคารเพื่อหาแนวทางการบำรุงรักษาอาคาร และไมมีการเก็บรวบรวมขอมูลความคิดเห็นจากเจาของ
สถานที่ ผูเชา ผูเชี่ยวชาญ และนักทองเที่ยวในยานตลาดนอยเกี่ยวกับลักษณะเดนทางสถาปตยกรรมจีน คุณคาความสำคัญ
ของอาคาร แนวทางการอนุรักษอาคาร และการซอมแซมบูรณะปรับปรุงของอาคาร จากชองวางของงานวิจัยที่พบจึงเปน
ั
ั
้
ิ
สาเหตุของการวจยในครงน ี ้
ี
ิ
ิ
4. วธดำเนินการวจย
ั
การวิจัยนี้เปนการศึกษาเฉพาะกรณีบานโซวเฮงไถและบานเหลียวแลในชุมชนตลาดนอย เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ
ผสมผสานการวิจัยเชิงปริมาณ โดยใชวิธีการสำรวจสภาพแวดลอมทางกายภาพของอาคาร สังเกตลักษณะเดนทาง
สถาปตยกรรมจีนและพฤติกรรมการใหความสนใจของนักทองเที่ยว สัมภาษณนักทองเที่ยว เจาของสถานที่กรณีศึกษา
ี
ผูเชยวชาญ และสอบถามนักทองเทยว
่
่
ี
ุ
ี
ั
ึ
ู
ู
4.1 กรณศกษา กลุมผใหขอมล และกลมตวอยาง
ุ
อาคารเกาที่ควรคาแกการอนรักษภายในชุมชนตลาดนอย มีจำนวน 64 แหง (วิกิพีเดีย, 2564) ผูวิจัยคัดเลือก
ุ
ี
ั
ี
ั
อาคารสถาปตยกรรมจนอาย 200 ปขึ้นไปที่ยงมการปรบปรงเพือการใชงานอยูในปจจบน เจาของสถานที่ท่ใหความรวมมือใน
ี
ั
ุ
ุ
่
ึ
ี
่
ิ
ุ
ื
ี
การทำวจย โดยไดกรณีศกษา 2 แหง คอบานโซวเฮงไถและบานเหลียวแล ทเปนบานจนโบราณในชมชนตลาดนอย และเหลือ
ั
ี
ุ
ี
เพยงไมกแหงในกรงเทพมหานคร
่
้
ุ
ี
ี
ื
่
ึ
ั
่
ี
ี
่
ั
ประชากรของวจยน คอ 1) เจาของสถานทและผูเชาสถานทกรณีศกษา 2) นกทองเทยวภายในชมชนตลาดนอย
ิ
ั
ู
จำนวนประมาณ 60 คนในชวงวนเสาร-อาทตยในสถานการณ COVID-19 ไดขอมลจากชาวชุมชนตลาดนอยและผูดแลสถานที ่
ิ
ู
ุ
ึ
่
ี
ี
ั
กรณีศกษา ผูวจยคดเลือกกลมผูใหขอมลจากผูดูแลสถานทกรณีศกษาแบบเจาะจง จำนวน 2 คน ทสะดวกใหขอมลในวนท 21
ี
่
ิ
ั
ึ
ั
่
ู
ู
ตุลาคม พ.ศ. 2564 ผูวิจัยคัดเลือกกลุมผูใหขอมูลจากนักทองเที่ยวภายในชุมชนตลาดนอยแบบเจาะจง จำนวน 21 คน
ที่สะดวกใหขอมูลในวันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2564 และ วันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2565 และผูวิจัยคัดเลือกกลุมตัวอยางแบบ
ั
ุ
่
ี
ิ
่
ิ
ี
เจาะจงจากนกทองเทยวชาวไทยทเคยเดนทางไปเยียมชมชมชนตลาดนอย จำนวน 44 คน โดยอางองจำนวนจากตารางกำหนด
่
ขนาดตัวอยางของ Krejcie & Morgan (Krejcie, and Morgan, 1970 อางใน ธีรวุฒิ เอกะกุล, 2543) โดยไดขอมูลจากการ
แจกแบบสอบถามออนไลนผาน Google Forms ในชวงวันที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2564 – 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564 และ
ั
ั
ั
ึ
่
ุ
ี
ี
่
ุ
คดเลือกผูเชยวชาญดานการอนรกษสถาปตยกรรมจากคณาจารยภายในสถาบนอดมศกษาแบบเจาะจง จำนวน 2 คน ทสะดวก
ู
ี
่
ใหขอมลในวนท 28 เมษายน พ.ศ. 2565
ั
่
ื
ั
ี
ุ
่
ื
4.2 เครองมอและอปกรณทใชในการวิจย
ื
่
เครืองมอและอปกรณทใชในการวิจยประกอบดวยอปกรณ 3 ชนด ไดแก 1) แอพพลิเคชนถายภาพบนอุปกรณ
ุ
่
ุ
ั
ิ
ี
ั
่
โทรศัพทมือถือ 2) แอพพลิเคชั่นบันทึกเสียงบนโทรศพทมือถือ 3) แอพพลิเคชั่นจดบันทึกบนแท็บเล็ต และเครืองมือ 8 ชนด
ิ
ั
่
ไดแก แบบสังเกตสภาพแวดลอมทางกายภาพ แบบสังเกตพฤติกรรมของนักทองเที่ยวในชุมชนตลาดนอย แบบสัมภาษณ
162