Page 161 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 161
th
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
ตารางที่ 1 แสดงอุปกรณ์หั่นและตัดในการประกอบอาหารของเด็กปฐมวัยที่มีปัจจัยด้านลักษณะการใช้งานใกล้เคียง (ต่อ)
ผลิตภัณฑ์ รายละเอียด วิเคราะห์อุปกรณ์
3. ‘Chewp’ Kitchen Tools for ชุดอุปกรณ์ท�าอาหารส�าหรับเด็ก ออกแบบตาม การออกแบบผลิตภัณฑ์ส�าหรับเด็กที่เน้นความ
Children สรีรศาสตร์ ให้มีขนาดพอดีกับการหยิบจับของ แปลกใหม่โดยการ ผสมผสานผลิตภัณฑ์เดิมกับ
เด็กเล็ก โดยออกแบบให้มีลักษณะคล้ายกับ สิ่งใกล้ตัวที่เด็กชื่นชอบและสนใจจนมีรูปแบบ
ื
ของเล่นไม้ท่เด็กช่นชอบ เป้าหมายของชุดอุปกรณ์ แตกต่าง โดยมีลักษณะคล้ายกับของเล่นไม้ แต่ใน
ี
คือ เพื่อเสริมสร้างทักษะการใช้กล้ามเนื้อมือของ ขณะเดียวกันก็สามารถใช้งานได้จริง โดยวัสดุท�า
ี
เด็กและสร้างความตระหนักเก่ยวกับการรับประทาน จากไม้และซิลิโคน ซึ่งไม่ก่อให้เกิดอันตรายกับเด็ก
อาหารที่ดีต่อสุขภาพและโภชนาการที่ดีให้กับเด็ก ในขณะใช้งาน เด็กสามารถใช้งานพร้อมกันได้
สามารถใช้งานได้ทั้งรูปแบบเดี่ยวและกลุ่ม เป็นกลุ่ม ก่อให้เกิดความสนุกสนาน และยังช่วย
ที่มา: https://www.behance.net/ โครงสร้างของอุปกรณ์ส่วนใหญ่ท�าจากไม้ ด้ามจับ เสริมสร้างพัฒนาการทางด้านสังคมให้เด็กอีกด้วย
gallery/9772575/Chewp-Raise- ใบมีดหรือส่วนอื่นๆ ที่เด็กสัมผัสแตะต้องนั้นท�า
awareness-to-healthy-food-for-kids- จากซิลิโคน เพื่อการหยิบจับที่นุ่มมือและเพื่อลด
and-pa อันตรายที่จะเกิดขึ้น ในขณะใช้งาน
ที่มา: https://www.behance.net/
gallery/9772575/Chewp-Raise-
awareness-to-healthy-food-for-kids-
and-par
ที่มา: ผู้วิจัย (2559)
จากการศึกษาวิเคราะห์รูปแบบผลิตภัณฑ์ใกล้เคียงของอุปกรณ์ห่นและตัดในการประกอบอาหารของเด็กปฐมวัย
ั
ในต่างประเทศ ดังตารางที่ 1 พบว่ามีการออกแบบที่เฉพาะเจาะจง คือ การปรับเปลี่ยนรูปร่างของผลิตภัณฑ์และการใช้งาน
พร้อมอุปกรณ์เสริมความปลอดภัย ซ่งเป็นการออกแบบท่เหมาะส�าหรับเด็กเพราะตอบสนองต่อพฤติกรรมในการใช้งานและ
ึ
ี
ึ
ี
ช่วยสร้างความปลอดภัยจากผลิตภัณฑ์ท่มีความเส่ยงได้มากข้น ซ่งแตกต่างจากอุปกรณ์ห่นและตัดที่ใช้ในการประกอบอาหาร
ึ
ั
ี
ั
ั
ั
่
้
ี
�
ุ
ั
็
็
ื
ั
�
ั
้
่
ู
ั
สาหรบเดกปฐมวยของไทย ผ้วจยพบว่าอปกรณ์หนและตดทถกนามาใช้นนไม่ได้ถกออกแบบมาเพอใช้งานกบเดกตงแต่ต้น
่
ู
ั
ิ
ู
จึงมีความอันตรายจากความแหลมคมอยู่ ซึ่งรูปแบบดังกล่าวไม่เหมาะสมที่จะน�ามาใช้งานกับเด็กเล็ก ดังนั้นจึงเป็นสิ่งส�าคัญ
ึ
้
ั
ั
็
่
อย่างยงในการออกแบบชดอปกรณ์หนและตดทมรปแบบปลอดภยกบเดกมากขน โดยสามารถใช้งานได้อย่างสะดวกสบาย
่
ิ
ุ
ุ
่
ี
ู
ั
ั
ี
และไม่เป็นอันตราย รวมทั้งค�านึงถึงความสอดคล้องกับช่วงอายุ พัฒนาการ ความสนใจ และพฤติกรรมการใช้งานของเด็ก
ปฐมวัย
2. วัตถุประสงค์การวิจัย
เพื่อน�าเสนอแนวทางการออก แบบอุปกรณ์หั่นและตัดที่ตอบสนองพฤติกรรมการประกอบอาหารของเด็กปฐมวัย
Vol. 8 156