Page 183 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 183
th
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
ื
สาเหตุท่ผู้ประกอบอาหารไม่ใช้เตาพลังงานแสงอาทิตย์เน่องจากเตาพลังงานแสงอาทิตย์ท่มีประสิทธิภาพและให้
ี
ี
ความร้อนสูงนั้นมีขนาดใหญ่จึงใช้พื้นที่จัดวางมากและเก็บรักษาได้ยาก ซึ่งเหมาะสมกับผู้มีพื้นที่ของที่พักอาศัยบริเวณกว้าง
อีกทั้งขาดการยอมรับการใช้งานในการประกอบอาหาร เนื่องจากเตาพลังงานแสงอาทิตย์ส่วนใหญ่ที่พัฒนาในปัจจุบันนั้นเป็น
ิ
ี
ึ
ื
ึ
ส่งประดิษฐ์เชิงวิศวกรรมท่สร้างข้นเพ่อทดสอบประสิทธิภาพของการถ่ายเทความร้อน ซ่งขาดการพัฒนาให้สามารถผลิตในระบบ
อุตสาหกรรมเพ่อเข้าถึงผู้บริโภคได้สะดวก เพ่มบริการส�าหรับส่งเสริมการตลาดและท�าให้ผู้บริโภคมีความเช่อม่นในผลิตภัณฑ์
ั
ื
ื
ิ
มากยิ่งขึ้น ดังนั้นสิ่งส�าคัญในการพัฒนาเตาพลังงานแสงอาทิตย์เพื่อให้เกิดการยอมรับการใช้งานอย่างแพร่หลายและมีความ
เหมาะสมต่อการใช้งานในธุรกิจรีสอร์ท จ�าเป็นต้องมีการศึกษาความต้องการของผู้ประกอบอาหารท่มีต่อการพัฒนาเตาพลังงาน
ี
แสงอาทิตย์ ดังที่ไลท์ไมน์ (Lightminds. 2005) กล่าวว่าการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ประสบความส�าเร็จได้ นักออกแบบจ�าเป็น
ต้องให้ความส�าคัญและเข้าใจในความต้องการที่แท้จริงจากผู้ใช้งานเป็นส�าคัญ
ี
ึ
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้เกิดการยอมรับจากผู้ใช้งานกระท�าได้ด้วยการศึกษาความต้องการ 3 ประการ ประการท่หน่ง
คือ ความพึงปรารถนาที่มีต่อผลิตภัณฑ์ (Desirability) ผลิตภัณฑ์จะต้องสามารถตอบสนองความต้องการพื้นฐานของผู้ใช้ได้
ประการท่สอง คือ วัตถุประสงค์ของการใช้งาน (Purpose) ผลิตภัณฑ์จะต้องมีประโยชน์ใช้สอยตรงตามวัตถุประสงค์ของผู้ใช้งานได้
ี
ี
และประการท่สาม คือ ประสบการณ์การใช้งาน (User Experience) การใช้งานผลิตภัณฑ์จะต้องมีความสอดคล้องกับประสบการณ์
ิ
ึ
ั
การใช้งานเดิมซ่งเป็นส่งท่สามารถสร้างความพึงพอใจต่อผู้ใช้งานได้ (Lightminds. 2005) นอกเหนือจากความต้องการท้ง
ี
สามประการแล้ว ส่งส�าคัญท่จะต้องพิจารณาและศึกษาร่วมด้วยในการพัฒนาผลิตภัณฑ์คือความสวยงาม วัฒนธรรม ความเช่อ
ิ
ี
ื
ี
ั
ค่านิยม และพฤติกรรมของผู้ใช้งาน ซ่งท้งหมดน้มีผลต่อความต้องการของผู้ใช้งานจากผลิตภัณฑ์และน�าพาไปสู่การสร้างสรรค์
ึ
ี
ท่ประสบความส�าเร็จ โดยข้อมูลดังกล่าวต้องผ่านการศึกษาผู้ใช้งานในเชิงลึกและการมีส่วนร่วมในการออกแบบและพัฒนาของ
ผู้ใช้งานเพื่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ตรงกับความต้องการที่แท้จริง ด้วยการประเมินจากวิธีการเก็บข้อมูล ได้แก่ 1) การฟัง
ี
ิ
ื
ึ
(Listening) เพ่อศึกษาส่งท่แฝงอยู่ในการพูดของผู้ใช้งาน ซ่งส่วนใหญ่ไม่ได้แสดงออกผ่านทางการพูดอย่างตรงไปตรงมา
ั
ี
ท้งหมด ผู้วิจัยจึงจ�าเป็นต้องวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลท่อย่างละเอียด 2) การสังเกต (Observing) การสังเกตเป็นส่วนหน่ง ึ
ี
ของการศึกษาข้อมูลเชิงลึกอันจะท�าให้ผู้วิจัยสามารถเข้าถึงพฤติกรรมท่ผู้ใช้งานแสดงออกมาผ่านการใช้งานผลิตภัณฑ์ ซ่งม ี
ึ
ั
ิ
ความแตกต่างระหว่างส่งท่ผู้ใช้บอกว่าท�ากับส่งท่ผู้ใช้ปฏิบัติจริงและท�าให้เห็นความต้องการท่ไม่ได้แสดงออกมาโดยตรง ดังน้น
ี
ี
ิ
ี
ึ
ิ
ั
่
ื
์
ั
ี
้
ู
้
่
ี
้
ึ
�
ั
ึ
ื
เครองมอสาคญในการศกษาขอมลเชงลกถงความตองการของผใชงานทมตอการพฒนาผลตภณฑ คอ แบบสอบถาม การสังเกต
ื
่
้
ู
ิ
ี
การสัมภาษณ์ และการสนทนากลุ่ม ท่มีความเท่ยงตรงด้วยกระบวนของการสร้างและทวนสอบความคิดเห็นดังเช่นแนวคิด
ี
ของคาโน โมเดล
แนวคิดคาโน โมเดล (Kano Model) (Kano.1984 อ้างถึงใน Qiting, Uno and Kubota. 2013) พัฒนาขึ้นในปี
คศ. 1984 โดยนักวิจัยชาวญ่ปุ่น คือ ดร.โนริอากิ คา ด้วยเป้าหมายคือ สร้างเคร่องมือส�าหรับศึกษาความต้องการของผู้ใช้ งาน
ื
ี
ที่มีต่อผลิตภัณฑ์ เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ตรงกับความต้องการและสร้างความพึงพอใจต่อผู้ใช้งานตามที่
ื
ชริณี เดชจินดา (2536) ระบุว่า ความรู้สึกพึงพอใจจะเกิดข้นเม่อความต้องการของบุคคลได้รับการตอบสนอง หรือลดลง
ึ
ื
ั
หากความต้องการน้นไม่ได้รับการตอบสนอง แนวคิดคาโน โมเดลพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้วยค�านึงถึงคุณลักษณะพ้นฐานความต้องการ
3 ประเภทที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจ อันประกอบด้วย 1) คุณลักษณะพื้นฐาน (Must-be Requirement) คือ สิ่งที่เป็น
ึ
พ้นฐานหรือการใช้งานพ้นฐานท่ผลิตภัณฑ์พึงต้องมีอยู่ ซ่งถ้าคุณลักษณะดังกล่าวขาดหายไปจะท�าให้ลูกค้าเกิดความไม่พึงพอใจ
ื
ี
ื
ในผลิตภัณฑ์ แสดงถึงความส�าคัญของคุณลักษณะพ้นฐานน้ท่จ�าเป็นต้องมีในการออกแบบและพัฒนาเช่น ตัวเลขแสดงข้อมูล
ี
ี
ื
บนไม้บรรทัด ช่องใส่ธนบัตรของกระเป๋าเงินแบบพกพา เป็นต้น 2) คุณลักษณะท่ท�าให้พึงพอใจ (One-Dimensional Require-
ี
ment) คือ คุณลักษณะที่ท�าให้ผู้ใช้งานพึงพอใจซึ่งแปรผันตรงกับความคาดหวังและความต้องการของผู้ใช้งานอันจ�าเป็นต้อง
ิ
ี
ี
ให้ความส�าคัญมากท่สุดในการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ หากคุณลักษณะน้มีมากจะท�าให้ผู้ใช้งานมีความพึงพอใจเพ่ม
มากยิ่งขึ้น เช่น โทรศัพท์สมาร์ทโฟนที่สามารถเปิดไฟฉายได้ รถยนต์ที่ติดตั้งกล้องมองภาพด้านหลัง เป็นต้น อย่างไรก็ตาม
ึ
ี
คุณลักษณะน้เมื่อผู้ใช้ได้สัมผัสและใช้งานในระยะเวลาหน่ง ด้วยความเคยชินของการใช้งานจะท�าให้คุณลักษณะน้กลายเป็น
ี
ื
ี
คุณลักษณะพ้นฐานของผลิตภัณฑ์น้นท่จ�าเป็นต้องมีโดยปริยาย 3) คุณลักษณะเกินความคาดหมาย (Attractive Requirement)
ั
Vol. 8 178