Page 186 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 186
th
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
3.2 สังเกตพฤติกรรม และสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่าง
ิ
�
การสังเกตพฤติกรรม และสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างในการใช้งานผลิตภัณฑ์เดิมของรีสอร์ท เร่มจากกาหนดขอบเขต
ี
�
ึ
การเก็บข้อมูลการสัมภาษณ์ ด้วยการสร้างรายการคาถามสัมภาษณ์แบบก่งมีโครงสร้างท่มีประเด็นหลัก ประกอบด้วย วันเดือนปี
ี
ี
สถานท่ ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ให้สัมภาษณ์ รูปแบบของเตาประกอบอาหารท่ใช้ในรีสอร์ท การใช้งานเตาประกอบอาหาร
ั
ี
ั
�
�
�
และการกาหนดจานวนเตาท่ใช้ในรีสอร์ท จากน้นจึงระบุประเด็นย่อยของแต่ละข้อมูล รวมท้งระบุวัตถุประสงค์ของแต่ละคาถาม
เพ่อการให้ได้ซ่งข้อมูลท่ครอบคลุมและตรงประเด็นท่สุด เช่น การใช้งานเตาแก๊สต้งแต่การเปิด ขณะใช้และหลังใช้งาน โดยม ี
ี
ี
ื
ึ
ั
์
ื
้
็
ิ
ั
้
ู้
ั
ึ
วตถุประสงค์เพ่อแสดงถงลาดบขนตอนการใช้งาน พฤตกรรม และประสบการณของผใช้งาน เปนตน นอกจากรายการคาถาม
�
ั
�
ี
ุ
�
ี
�
ั
ิ
็
ู
ั
ิ
่
สาหรบสมภาษณ์กล่มตวอย่างแล้ว การเกบข้อมลด้วยวธการสงเกตการใช้งานเตาประกอบอาหารมความสาคญอย่างยงต่อ
ั
ั
ั
ี
การศึกษาความต้องการ ด้วยทาให้ผู้วิจัยสามารถเข้าถึงข้อมูลท่กลุ่มตัวอย่างไม่สามารถอธิบายได้ด้วยการพูดหรือทาให้ได้ข้อมูล
�
�
�
ท่นอกเหนือจากการสัมภาษณ์ ผู้วิจัยกาหนดขอบเขตการสังเกตเป็นช่วงเวลา ได้แก่ ก่อนประกอบอาหาร ระหว่างการประกอบ
ี
อาหาร และหลังจากประกอบอาหาร เมื่อได้เครื่องมือในการลงพื้นที่เก็บข้อมูลแล้วสิ่งส�าคัญคือการทดสอบประสิทธิภาพของ
ื
เคร่องมือโดยผู้วิจัยใช้วิธีการเสมือนจริงกับกลุ่มท่มีความใกล้เคียงกลุ่มตัวอย่างเพ่อเป็นการตรวจสอบความเข้าใจในการให้ข้อมูล
ื
ี
และน�าผลการทดสอบปรับปรุงส�าหรับการลงพื้นที่จริง
3.3 วิเคราะห์ข้อมูล และสังเคราะห์เพื่อสร้างเครื่องมือแบบสอบถาม
ผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูลท่ได้จากการลงพ้นท่สังเกตและสัมภาษณ์พฤติกรรมการประกอบอาหารในรูปแบบของการ
ี
ื
ี
วิเคราะห์งาน (Task Analysis) เพื่อจ�าแนกข้อมูลอย่างเป็นล�าดับตั้งแต่ ก่อนประกอบอาหาร ระหว่างการประกอบอาหาร
และหลังจากประกอบอาหารอย่างสอดคล้องกับพฤติกรรมการใช้งานของผู้ประกอบอาหาร
3.4 ศึกษาความต้องการของผู้ประกอบอาหาร
ผู้วิจัยด�าเนินการสอบถามความต้องการของผู้ประกอบอาหาร เนื่องจากปัจจัยส่วนบุคคลที่แตกต่างกัน ผู้วิจัย
�
จึงใช้วิธีการเก็บข้อมูลด้วยตนเองโดยการอ่านข้อคาถามและคาตอบอย่างเท่าเทียมกันและไม่มีอคติ เพ่อสร้างความเข้าใจต่อ
ื
�
การตอบแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่าง
3.5 วิเคราะห์ข้อมูลความต้องการ
�
ี
ผู้วิจัยวิเคราะห์ความต้องการของผู้ประกอบอาหารในธุรกิจรีสอร์ทด้วยการจาแนกตามคุณลักษณะท่มีผลต่อ
ความต้องการ ประกอบด้วย สิ่งที่เกินความคาดหมายและดึงดูดผู้ใช้ สิ่งที่ท�าให้ผู้ใช้พึงพอใจ สิ่งที่จ�าเป็นต้องมีในผลิตภัณฑ์
ี
�
ิ
ี
ี
ี
ส่งท่จาเป็นต้องตระหนักให้มากเพราะอยู่ในส่วนท่ไม่พึงพอใจ ส่งท่ไม่ต้องการและควรมีการปรับปรุง และส่งท่ไม่แตกต่างในความ
ิ
ิ
ั
ี
รู้สึกของผู้ใช้ ซ่งข้นตอนน้สามารถระบุได้ว่าการพัฒนาเตาพลังงานแสงอาทิตย์ต้องมีรูปลักษณ์ และการใช้งานตามผลของการ
ึ
�
จาแนกข้อมูล หลักการสาคัญ คือ ค่าสถิติท่ได้สาหรับการพัฒนาผลิตภัณฑ์จะต้องมีผลลัพธ์ คือ ส่งท่เป็นพ้นฐาน (M) มากกว่า
ิ
ี
�
ื
ี
�
สิ่งที่ท�าให้ผู้ใช้พึงพอใจ (O) มากกว่า สิ่งที่เกินความคาดหมายและดึงดูดผู้ใช้ (A) มากกว่า สิ่งที่ไม่แตกต่างในความรู้สึกของ
ผู้ใช้ซึ่งท�าให้ไม่พึงพอใจ (I) ตามสมการ M > O > A > I
3.6 สรุปผล และอภิปรายผล
�
ผู้วิจัยสรุปผลการศึกษาความต้องการ และกาหนดแนวทางการพัฒนาเตาพลังงานแสงอาทิตย์ตามความต้องการ
ของผู้ประกอบอาหาร จากนั้นอภิปรายผลการศึกษาและให้ข้อเสนอแนะเพื่อเป็นประโยชน์ต่อการวิจัยครั้งต่อไป
4. ผลการศึกษาและอภิปรายผล
ผู้วิจัยจาแนกความต้องอย่างสอดคล้องกับพฤติกรรมการประกอบอาหารได้ท้งหมด 4 ประเด็น ประกอบด้วย การใช้งาน
�
ั
ื
ั
�
ิ
(Function) ส่งอานวยความสะดวก (Facilities) รูปทรง (Form) และความปลอดภัย (Safety) ต่อจากน้น ผู้วิจัยสร้างเคร่องมือ
ี
แบบสอบถามความต้องการตามแนวคิดคาโน โมเดลด้วยการนาประเด็นหลักท่ได้จากการวิเคราะห์ ข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง
�
ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
181 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.