Page 184 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 184

th
 Research Proceedings in The 8  Graduate Integrity Conference: April, 2017







                                                    ึ
                                                                             ี
                              �
                คือ คุณลักษณะท่ทาให้ผู้ใช้เกิดความประหลาดใจซ่งเป็นการตอบสนองต่อผลิตภัณฑ์ท่ได้รับอย่างเกินความคาดหมาย หากผลิตภัณฑ์
                             ี
                                                                                          �
                                                                                              ี
                                                                                   ี
                                                                                        ิ
                ไม่มีคุณลักษณะเกินความคาดหมาย ไม่มีผลให้ผู้ใช้เกิดความไม่พึงพอใจ แต่คุณลักษณะน้เป็นส่งสาคัญท่สามารถสร้างจุดเด่น
                                                          ื
                ให้กับผลิตภัณฑ์และสร้างความแตกต่างจากผลิตภัณฑ์อ่นในสายผลิตภัณฑ์ประเภทเดียวกัน เช่น โทรศัพท์สมาร์ทโฟนท่ใช้งาน
                                                                                                         ี
                ขณะด�าน�้าได้ระยะความลึกหนึ่ง  เครื่องปรับอากาศที่สั่งเปิดปิดการใช้งานจากสมาร์ทโฟนได้  เป็นต้น  ซึ่งคุณลักษณะเหล่านี้
                ไม่เคยเกิดข้นมาก่อนในผลิตภัณฑ์ดังกล่าว โดยรูปท่ 1 แสดงถึงความสัมพันธ์ของคุณลักษณะพ้นฐานของความต้องการในรูปแบบ
                                                      ี
                                                                                     ื
                         ึ
                                                                                                ้
                                                                                                ั
                             ่
                             ึ
                                                                               ู
                ของแผนภาพ  ซงแกนแนวนอนของภาพแสดงถงขอบเขตของความต้องการของผ้ใช้งาน  และแกนแนวตงแสดงถงขอบเขต
                                                                                                      ึ
                                                     ึ
                ของความพึงพอใจของผู้ใช้งาน















                                  รูปที่ 1 ความสัมพันธ์ของคุณลักษณะพื้นฐานความต้องการของคาโน โมเดล
                                          ที่มา: คิติงและคณะ (Qiting, Uno and Kubota. 2013)


                                                                                                          ื
                                                                                         ี
                       แนวคิดคาโน โมเดลเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้วยการจาแนกคุณลักษณะท่มีความใกล้เคียงกันเพ่อการ
                                                                           �
                                                                          ี
                                                                                                       ึ
                ปรับปรุงผลิตภัณฑ์ได้เป็นอย่างดีเพราะแสดงถึงความเข้าใจและความต้องการท่แท้จริงของผู้ใช้งานท่มีต่อนักออกแบบ ซ่งสามารถ
                                                                                         ี
                                                                                        ี
                นาไปใช้ในการแจกแจงความต้องการพ้นฐาน  ความคาดหวัง  ความพึงพอใจและไม่พึงพอใจท่แตกต่างกันของผลิตภัณฑ์ได้
                  �
                                              ื
                อันเป็นผลให้นักออกแบบสามารถสร้างจุดเด่นให้กับผลิตภัณฑ์และความแตกต่างจากผลิตภัณฑ์ในสายประเภทเดียวกัน
                ซึ่งส่งผลดีต่อการตลาดรวมทั้งการพัฒนาในระดับเชิงธุรกิจได้ การเก็บข้อมูลด้วยกระบวนการคาโน โมเดลใช้ลักษณะค�าถาม
                ด้วยรูปแบบค�าถามเชิงนิมาน  (เชิงบวก)  และรูปแบบค�าถามเชิงนิเสธ  (เชิงลบ)  ที่ได้จากการสัมภาษณ์ผู้ใช้งาน  (Voice  of
                Users) และตัวเลือกส�าหรับการตอบ 5 ระดับของความรู้สึก ได้แก่ ชอบมาก (Like) เป็นสิ่งจ�าเป็น (Must-be, Expected)
                                                                                  �
                เฉยๆ (Neutral) ยังพอใช้ได้ (Live With) และไม่ชอบเลย (Dislike) โดยแสดงตัวอย่างคาถามตามแบบคาโน โมเดล ดังตาราง
                ที่ 1
                                                  ี
                       ความต้องการของผู้ประกอบอาหารท่มีต่อการใช้งานเตาพลังงานแสงอาทิตย์ต้องได้รับการประเมินผล (Kano Evaluation)
                  ื
                เพ่อเป็นการสรุปผลของการเก็บข้อมูลจากแบบสอบถามด้วยวิธีการของคาโน โมเดล คือ การจับคู่ในลักษณะเมตริกซ์ระหว่าง
                เกณฑ์  5  ระดับของค�าตอบเชิงนิมานและเชิงนิเสธ  ด้วยการตัดสินผลภายใต้เกณฑ์  6  คุณลักษณะ  คือ  1)  A  (Attractive)
                                                                                                 �
                                                                                       ี
                                                                                     ิ
                                                                                                ี
                        ิ
                          ี
                หมายถึงส่งน้เกินความคาดหมายและดึงดูดผู้ใช้  2)  O  (One-Dimensional)  หมายถึงส่งน้อยู่ในส่วนท่ทาให้ผู้ใช้พึงพอใจ
                3) M (Must-be) หมายถึง สิ่งนี้จ�าเป็นต้องมีในผลิตภัณฑ์ 4) Q (Questionable Result) หมายถึง สิ่งนี้จ�าเป็นต้องตระหนัก
                                  ี
                                                                                          ิ
                                                                                            ี
                ให้มากเพราะอยู่ในส่วนท่ไม่พึงพอใจ (ไม่ควรมีเกิน 2% ในการออกแบบ) 5) R (Reverse) หมายถึงส่งน้นอกจากไม่ต้องการแล้ว
                ควรมีการปรับปรุง และ 6) I (Indifferent) หมายถึงสิ่งนี้ไม่แตกต่างในความรู้สึกของผู้ใช้ ตามตารางที่ 2
                                                                    ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
                                                             179    คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์  สจล.
   179   180   181   182   183   184   185   186   187   188   189