Page 188 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 188

th
 Research Proceedings in The 8  Graduate Integrity Conference: April, 2017







                       ค่าสถิติที่ได้จากการประเมินผลของคาโน โมเดล ส�าหรับการพัฒนาผลิตภัณฑ์จะต้องมีผลลัพธ์ที่ท�าให้ผู้ใช้เกิดความ
                รู้สึกเกินความคาดหมายอย่างน้อย 2-3 ประเด็น (ปริญญ์ บุญกนิษฐ์. 2552) จึงจะช่วยให้การพัฒนาผลิตภัณฑ์เกิดประสิทธิภาพ
                                         �
                                                                                           �
                อย่างสูงสุด  ค่าสถิติจากตารางจาแนกคุณลักษณะของการพัฒนาเตาพลังงานแสงอาทิตย์แต่ละข้อคาถามจะถูกแทนค่าลงใน
                ตารางสัมประสิทธิ์ความต้องการของผู้ใช้
                                                                    A + O
                       ก�าหนดให้   สัมประสิทธิ์ความพึงพอใจ   =
                                                                A + O + M + I

                                                                       O + M
                                   สัมประสิทธิ์ค่าความไม่พึงพอใจ  =
                                                                (A + O + M + I) x (-1)

                                ิ
                       สัมประสิทธ์ความพึงพอใจใช้เลขทศนิยมสองจุดมีค่าอยู่ระหว่าง  0-1  และค่าเข้าใกล้  1  แสดงว่ามีความพึงพอใจ
                ต่อผู้ใช้มาก  ส่วนการแทนค่าสัมประสิทธิ์ค่าความไม่พึงพอใจมีค่าเข้าใกล้  -1  แสดงว่าปัจจัยนั้นมีผลต่อความไม่พึงพอใจมาก
                ดังแสดงในตารางที่ 4


                ตารางที่ 4 สัมประสิทธิ์ความต้องการของผู้ใช้ในการพัฒนาเตาพลังงานแสงอาทิตย์

                      ความต้องการที่มีต่อการพัฒนาเตาพลังงานแสงอาทิตย์             A + O           O + M
                                                                    คุณลักษณะ
                  ประเด็นหลัก              ประเด็นย่อย                         A + O + M + I  (A + O + M + I) x (-1)
                  1. การใช้งาน  1)  เตาพลังงานแสงอาทิตย์มีสิ่งแสดงความร้อน   I     0.30            -0.55
                                ขณะใช้งาน
                              2)  เตาพลังงานแสงอาทิตย์มีฟังก์ชันการประกอบอาหาร  A  0.84            -0.37
                                หลากหลายประเภทให้เลือกใช้
                              3)  เตาพลังงานแสงอาทิตย์มีภาพกราฟิกแสดงความร้อน  M   0.43            -0.71
                                ทิศทางการหมุนของวาล์วบนหน้าเตา

                              4)  เตาพลังงานแสงอาทิตย์แสดงระดับพลังงาน   M         0.37            -0.79
                                ความร้อนที่เหลือในถังเก็บส�าหรับใช้งาน

                              5)  เตาพลังงานแสงอาทิตย์มีพลังงานเพียงพอส�าหรับ   A  0.74            -0.16
                                ใช้งานทั้งกลางวันและกลางคืน

                              6)  เตาพลังงานแสงอาทิตย์มีคู่มือแนะน�าการใช้งาน  O   0.50            -0.75
                              7)  เตาพลังงานแสงอาทิตย์สามารถตั้งเวลาขณะ   A        0.75            -0.40
                                ประกอบอาหารแต่ละประเภทได้
                  2. สิ่งอ�านวย  8)  เตาพลังงานแสงอาทิตย์มีพื้นที่ใช้สอยส�าหรับวาง  I  0.35        -0.25
                   ความสะดวก    ภาชนะและอุปกรณ์บริเวณหน้าเตา
                              9)  เตาพลังงานแสงอาทิตย์มีจุดวางเครื่องปรุง  A       0.53            -0.42
                              10) ภาพกราฟิกบอกต�าแหน่งพื้นที่การวางภาชนะและ  I     0.17            -0.22
                                 อุปกรณ์
                              11) เตาพลังงานแสงอาทิตย์มีระบบน�้าส�าหรับการท�า   M  0.37            -0.58
                                 ความสะอาดโดยติดตั้งในพื้นที่ปลอดภัยและ
                                 ใกล้เคียงหัวเตาประกอบอาหาร







                                                                    ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
                                                             183    คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์  สจล.
   183   184   185   186   187   188   189   190   191   192   193