Page 189 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 189
th
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
ตารางที่ 4 สัมประสิทธิ์ความต้องการของผู้ใช้ในการพัฒนาเตาพลังงานแสงอาทิตย์
ความต้องการที่มีต่อการพัฒนาเตาพลังงานแสงอาทิตย์ A + O O + M
คุณลักษณะ
ประเด็นหลัก ประเด็นย่อย A + O + M + I (A + O + M + I) x (-1)
3. รูปทรงและ 12) พัฒนารูปทรงของเตาพลังงานแสงอาทิตย์ให้เข้ากับ O 0.65 -0.75
วัสดุ สภาพของห้องครัวรีสอร์ท
13) เตาพลังงานแสงอาทิตย์มีขนาด ความสูงใกล้เคียง M 0.35 -0.60
กับผลิตภัณฑ์เดิมที่เคยใช้
14) เตาพลังงานแสงอาทิตย์ผลิตจากวัสดุที่ทนต่อการ O 0.74 -0.89
เกิดสนิม
15) เตาพลังงานแสงอาทิตย์ใช้วัสดุฉนวนที่ทนความร้อน O 0.55 -1.00
สูง
4. ความ 16) เตาพลังงานแสงอาทิตย์มีกราฟิกและค�าอธิบาย M 0.50 -1.00
ปลอดภัย แสดงค�าเตือนเพื่อความปลอดภัย
17) เตาพลังงานแสงอาทิตย์ระบุต�าแหน่งวางอุปกรณ์ I 0.26 -0.47
ภาชนะ เครื่องปรุง และจุดประกอบอาหาร
18) เตาพลังงานแสงอาทิตย์มีสิ่งแจ้งเตือนหากเกิด O 0.50 -0.85
ข้อบกพร่องของระบบการท�างาน
ที่มา: ผู้วิจัย (2552)
การประเมินสัมประสิทธ์ตามแนวคิดคาโน โมเดลเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้วยท�าให้นักออกแบบเข้าใจ
ิ
ี
ั
ถึงคุณลักษณะท่มีอิทธิพลต่อความต้องการท่ส่งผลถึงความพึงพอใจของผู้ใช้ อีกท้งสามารถจัดล�าดับความส�าคัญ ในการเลือก
ี
พัฒนาคุณลักษณะ 6 ด้านข้างต้นส�าหรับการพัฒนาเตาพลังงานแสงอาทิตย์ด้วย ผู้วิจัยจึงแทนค่าสัมประสิทธิ์ความพึงพอใจ
ี
และไม่พึงพอใจของผู้ใช้ในแผนภาพตามท่แสดงในรูปท่ 2 โดยแบ่งแผนภาพตามแนวต้งและแนวนอนเป็น 4 ส่วน ตามคุณลักษณะ
ั
ี
ของความต้องการ ได้แก่ สิ่งที่ไม่แตกต่างในความรู้สึกของผู้ใช้ สิ่งที่จ�าเป็นต้องมีในผลิตภัณฑ์ สิ่งที่เกินความคาดหมายของ
ผู้ใช้ และสิ่งที่ท�าให้ผู้ใช้พึงพอใจ
รูปที่ 2 การจ�าแนกคุณลักษณะของเตาพลังงานแสงอาทิตย์
ที่มา: ผู้วิจัย (2559)
Vol. 8 184