Page 191 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 191

th
                Research Proceedings in The 8  Graduate Integrity Conference: April, 2017







                                                                             ี
                                                 ี
               คู่มือแนะน�าในการใช้งานอีกด้วย  นอกจากน้การพัฒนาเตาพลังงานแสงอาทิตย์ท่มีฟังก์ชันการประกอบอาหารหลากหลาย
               สามารถตั้งเวลาขณะประกอบอาหารแต่ละประเภทได้  และมีพลังงานเพียงพอส�าหรับใช้งานทั้งกลางวันและกลางคืน  รวมทั้ง
               มีจุดวางเครื่องปรุงเพื่อความสะดวกในการใช้งานซึ่งจะสามารถสร้างจุดเด่นให้กับเตาพลังงานแสงอาทิตย์ได้เป็นอย่างดี



               6. ข้อเสนอแนะ
                      เตาพลังงานแสงอาทิตย์ถือเป็นผลิตภัณฑ์พลังงานทางเลือกประเภทใหม่ส�าหรับการใช้งานของผู้ประกอบอาหาร

                               ั
                                  ิ
               ในธุรกิจรีสอร์ท  ดังน้นส่งส�าคัญในการพัฒนาเตาพลังงานแสงอาทิตย์ควรได้รับการออกแบบและพัฒนาโดยให้ความส�าคัญ
               กับผู้ใช้งาน  (User  Centered  Design)  ด้วยการให้กลุ่มตัวอย่างได้รับรู้ถึงคุณสมบัติของการใช้งานเตาพลังงานแสงอาทิตย์
               เพ่อให้รู้ถึงคุณประโยชน์จากการได้ทดสอบและทดลองใช้เตาพลังงานแสงอาทิตย์ประกอบอาหาร  ด้วยกลุ่มตัวอย่างสามารถ
                 ื
                                                                  ึ
                                                           ี
               ให้ข้อมูลท่ส่งผลต่อความพึงพอใจจากการทดลองใช้งานได้อกทางหน่ง อกท้งท�าให้กลุ่มตัวอย่างเกิดการตระหนัก (Awareness)
                                                                    ี
                      ี
                                                                       ั
               อันเป็นผลให้เกิดการยอมรับต่อผลิตภัณฑ์ใหม่ นักออกแบบสามารถน�าผลของการให้ข้อมูลดังกล่าวมาประยุกต์ร่วมกับการศึกษา
                                                ื
               ความต้องการตามแนวคิดคาโน  โมเดล  เพ่อการพัฒนาเตาพลังงานแสงอาทิตย์ท่สามารถสร้างความพึงพอใจต่อผู้ใช้งานได้
                                                                             ี
               อย่างสูงสุด
               เอกสารอ้างอิง

               กระทรวงพลังงาน. (2559). พลังงานแสงอาทิตย์. คู่มือการพัฒนาและการลงทุนผลิต พลังงานทดแทน. ชุดที่ 2. กรุงเทพฯ.
               ชริณี  เดชจินดา.  (2536).  ความพึงพอใจของผู้ประกอบการต่อศูนย์บริการการจัดการอุตสาหกรรมแขวงแสมดด�า
                      เขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร. (วิทยานิพนธ์ปริญญาสังคมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาส่งแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย,
                                                                                         ิ
                      มหาวิทยาลัยมหิดล).
               ปริญญ์ บุญกนิษฐ และ อรรคเจตต์ อภิขจรศิลป์. (2552). การออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. (หน้า 2-9). กรุงเทพฯ:
                      สถาบันไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์.
               ศูนย์วิจัยการตลาดการท่องเที่ยว.  (2559).  สถานที่พักแรมในประเทศไทย.  เข้าถึงได้จาก:  http://intelligencecenter.tat.
                      or.th:8080/apex/f?p=1:19.
               องค์การบริหารก๊าซเรือนกระจก.  (2559).  เครื่องมือค�านวณคาร์บอนฟุตปริ้น.  เข้าถึงได้จาก:  http://carbonmarket.tgo.
                      or.th/carbonfootprint/thai/index.php.
               Lightminds. (2005). Understanding customer need during new product development. WhitePaper. United-states
                      of kingdom.

               Nandwani, Shyam. (2006). Varieties of Solar Cooker Devices and Users. Universidad Nacional. Costa Rica.
               Qiting,  Pan.,  Uno,  Nobuhiro  and  Kubota,  Yoshiki.  (2013).  Kano  Model  Analysis  of  Customer  Needs  and
                      Satisfaction at the Shanghai Disneyland. Graduate School of Management. Kyoto University.
               Zero carbon resorts. (2016). Thailand Member List. Retrieved from: http://zerocarbonresorts.eu/zcr-members-
                      thailand/

















               Vol.  8                                      186
   186   187   188   189   190   191   192   193   194   195   196