Page 64 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 64
th
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
ข้อมูลจากแหล่ง เช่น ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) ส�านักพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กรมศิลปากร
สายันต์ ไพรชาญจิตร์ (2547) เพ็ญพรรณ เจริญพร (2545) เป็นต้นนั้น ท�าให้ผู้วิจัยสามารถสรุปความหมายของพิพิธภัณฑ์
ซึ่งมีลักษณะดังต่อไปนี้ คือ 1. เป็นพื้นที่/ สถานที่ถาวร 2. มีหน้าที่ ที่รวบรวม สงวนรักษา ศึกษาค้นคว้าวิจัย จัดแสดงและ
เผยแพร่ความรู้ 3. มีจุดประสงค์เพื่อการศึกษา ความเพลิดเพลิน และสร้างแรงบันดาลใจ และ 4. เปิดบริการแก่สาธารณะ
โดยไม่แสวงหาผลก�าไร
ื
ใน New Museology เร่องพัฒนาการของ Ecomuseum ในต่างประเทศ จะเห็นว่าขอบเขต (Boundary of Territory)
สถานที่ของพิพิธภัณฑ์ ได้ขยายความออกไปมากขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับ Traditional Museum ดังข้อมูลใน
ตารางที่ 1 เปรียบเทียบขอบเขตของพิพิธภัณฑ์ระหว่าง Traditional Museum และ Ecomuseum
(Traditional) Building Collections Techniques Experts Visitors
Museum พิพิธภัณฑ์ อาคาร วัตถุสะสม เทคนิควิธี ผู้ช�านาญการ (Local People
and Touristists)
Ecomuseum Territory Heritage Collective Population Visitors
(อี-โค่-มิว-เซียม) อาณาบริเวณ มรดกทาง Memory ประชากร (Touristists)
วัฒนธรรม ความทรงจ�าร่วม (Local people)
ที่มา: Davis Peter (2010)
Peter Davis (2010) ได้สรุปหลักส�าคัญของแนวคิด Ecomuseum ไว้ 3 ประการ ประกอบด้วย 1) Sense and
ี
ื
ี
ี
Spirit of Place ความพิเศษของพ้นท่ท่คนพ้นถ่นสามารถอธิบาย สะท้อนคุณค่าทางจิตวิญญาณและผู้คนท่อาศัยอยู่ได้
ื
ิ
2) Community Involvement การเข้าถึงการจัดการมรดกทางวัฒนธรรมอย่างเท่าเทียมร่วมกัน และเป็นความท้าทายในประเทศ
ซึ่งรัฐบาลมีอ�านาจออกค�าสั่งลงมาสู่ระดับล่าง หรือ Top-Down Approach 3) The Flexibility of the Ecomuseum Model
มีรูปแบบในการจัดท�าที่ยืดหยุ่น สามารถประยุกต์ ปรับเปลี่ยนไปตามผู้คน บริบทของพื้นที่ที่มีเอกลักษณ์ ซึ่งในข้อนี้ตรงกับ
ื
กับแนวคิดในเร่องการจัดการพิพิธภัณฑสถาน หรือ Museum Management (สายันต์ ไพรชาญจิตร์ และเพ็ญพรรณ เจริญพร,
2552) ที่กล่าวว่า รูปแบบของพิพิธภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่น ควรจะมีได้ไม่จ�ากัด ขึ้นอยู่กับประเภทของทรัพยากรวัฒนธรรม วัตถุ
สิ่งของ หรือสิ่งที่ต้องการแสดงนั้นเป็นอะไร และเป็นเรื่องราวของคนกลุ่มใดบ้าง
พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นในประเทศไทย (ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร, 2557) ก็เป็นแนวความคิดเดียวกันกับ Ecomuseum
และมีหลักส�าคัญ คือ มีเป้าหมายในการพัฒนา อย่างเช่น การรักษาและจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม เพื่อสร้างแหล่งเรียนรู้
ื
ั
ี
ี
ี
ท่มีอัตลักษณ์ของสถานท่ เป็นได้ท้งเชิงกระบวนการ เคร่องมือ หรือวิธีการ ท่สร้างความตระหนัก ความรู้สึกเป็นเจ้าของ
ให้เกิดการมีส่วนร่วมซึ่งเป็นสิ่งที่ส�าคัญยิ่ง ที่ท�าให้ชุมชนเกิดความเข้มแข็งเพื่อแก้ไขความขัดแย้งและปัญหาของชุมชนให้เกิด
ิ
ิ
ี
ี
่
ื
ิ
ิ
ี
ั
ู
่
ิ
ั
่
ื
ี
ั
ื
การพฒนาท่ย่งยน โดยแสดงเรองราวของท้องถ่น เช่น วิถชวต ภมิปัญญา ประวตศาสตร์ เป็นต้น ทสอถึงจตวญญาณ
อารมณ์ และความรู้สึกต่อสถานที่ ผ่านการเล่าเรื่องราวของอดีต ปัจจุบัน และอนาคต ซึ่งสามารถเรียก พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น
ในอีกลักษณะหน่งได้ว่าเป็นพิพิธภัณฑ์ท่มีชีวิต โดยจากแหล่งข้อมูล เช่น เว็ปไซต์ Wikipedia บทความของ บุริม โอทกานนท์
ึ
ี
ข้อคิดเห็นจากการสัมภาษณ์ เอนก นาวิกมูล และ รณฤทธิ์ ธนโกเศศ เป็นต้น จะเน้น การมีคนและกิจกรรมของชุมชน เป็น
4
ั
ื
ส่วนประกอบ ให้เกิดปฏิสัมพันธ์ของผู้คนหรือชุมชนด้งเดิม เข้ามามีบทบาท สร้างการมีส่วนร่วมรักษาเร่องราวประวัติศาสตร์
ความเป็นชุมชน วิถีชีวิตวัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม และด�ารงให้เกิดการด�าเนินชีวิตอย่างเป็นปกติ อย่างมีข้อตกลงร่วมกัน
ั
ิ
ี
ั
ี
4 ชุมชนด้งเดิม หมายถึง ชุมชนท่อยู่อาศัย มีการต้งถ่นฐานมาเป็นระยะเวลานาน (มากกว่า 50 ปีตามหลักสากล) มีประวัติความเป็นมาเก่ยวพัน
ี
�
กับเหตุการณ์หรือบุคคลสาคัญ มีลักษณะเฉพาะทางกายภาพและอาจมีการดารงรักษาวิถีชีวิตทางด้านสังคมหรือเศรษฐกิจท่ได้สืบทอดกันต่อมา
�
ที่มา: การเคหะแห่งชาติ (2553)
ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
59 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.