Page 63 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 63
th
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
นโยบายของภาครัฐในการขับเคล่อนโครงการพัฒนาท้องถ่นท่มีเอกลักษณ์ ผลักดันให้เกิดโครงการถนนคนเดิน “177 ปี
ิ
ี
ื
ึ
ิ
ึ
ื
ถนนเก่าเล่าเร่องปากแพรก” ซ่งทางจังหวัดได้เร่มต้นจัดข้นในปี พ.ศ. 2551-2552 และทางเทศบาลเมืองกาญจนบุรีได้ผลักดัน
โครงการต่อในปีถัดไป โดยภาครัฐได้กระตุ้นให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม ซึ่งการริเริ่มโครงการถนนฯ มุ่งเน้นในเรื่องการกระตุ้น
เศรษฐกิจเป็นตัวน�า โดยใช้แนวความคิด ดังเช่น โครงการพัฒนาย่านตลาดของรัฐ เช่น ตลาดน�้าอัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม
ตลาดร้อยปีสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นต้น ท�าให้การด�าเนินงานของโครงการถนนฯ ที่ผ่านมาทั้งการกระตุ้นและระดมทุน
จากจังหวัดถึง 2 ครั้ง แต่สุดท้ายต้องปิดตัวลงในช่วงต้นปี พ.ศ. 2554 ซึ่งหลังจากนั้น เป็นช่วงเวลาที่ชุมชนและคณะท�างาน
ื
ื
เทศบาลฯ เว้นว่างจากการจัดกิจกรรมถนนคนเดินฯ และผู้วิจัยอยู่ระหว่างเข้าไปสังเกตการณ์ในพ้นท่เพ่อประเมินข้อมูลในการ
ี
จัดท�าโครงการวิจัยขึ้น
รูปที่ 1 บริเวณปากแพรกและที่ตั้งเมืองกาญจนบุรีใหม่ปรากฏในแผนที่โบราณสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์
ที่มา: Santanee Phasuk and Philip Stott (2004)
2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย
2.1 รวบรวมและศึกษาการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์ที่มีชีวิตปากแพรก
3. วิธีการวิจัย เครื่องมือวิจัย และระเบียบวิธีวิจัย
การวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ในลักษณะการปฎิบัติการอย่างมีส่วนร่วม (PAR
- Participatory Action Research) ซึ่งนอกจากเนื้อหาเพื่อการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์ที่มีชีวิตแล้วยังด�าเนินการผ่านกระบวนการ
ตั้งโจทย์บนฐานข้อมูลของชุมชน ซึ่งน�ามาทดสอบผ่านกิจกรรมและเครื่องมือที่กระตุ้นท�าให้เกิดการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
ี
กับชุมชน พร้อมด้วยการสังเกตการณ์ ผ่านโครงการ แหล่งเรียนรู้บนถนนสายแรกปากแพรกกาญจนบุรี ในพ้นท่จริงด้วย
ื
ึ
ึ
ี
ี
ี
ื
เพ่อปรับเปล่ยนโจทย์และเคร่องมือให้เหมาะสมกับบริบทของพ้นท่ สถานการณ์ท่เกิดข้น และเหตุปัจจัยซ่งเปล่ยนแปลงอยู่
ี
ื
ื
ตลอดเวลา ให้เป็นการตรวจสอบและขับเคลื่อนการสร้างแนวทางเลือกของการพัฒนาพื้นที่อย่างมีทิศทาง
Vol. 8 58