Page 221 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 221
th
Research Proceedings in The 9 Graduate Integrity Conference: April, 2018
ส่วนท่ 2 พฤติกรรมด้านการใช้กระดาษในสานักงาน ผลการวิเคราะห์สัดส่วนจานวนปริมาณกระดาษท่พนักงาน
ี
�
�
ี
ในสานักงานใช้ปฏิบัติงานต่อวัน พบว่า กลุ่มงานบริหารงานท่วไปและกลุ่มงานประมาณราคา มีการใช้กระดาษมากท่สุดในจานวน
ี
ั
�
�
มากกว่า 20 แผ่นต่อวัน ในขณะที่กลุ่มงานส�านักงานออกแบบฝ่ายอาคาร ได้แก่ กลุ่มงานสถาปัตยกรรม กลุ่มงานวิศวกรรม
อาคารและกลุ่มงานมัณฑนศิลป์ มีการใช้กระดาษอยู่ท่ระหว่าง 11-20 แผ่นต่อวัน ส่วนกลุ่มงานในสานักงานออกแบบฝ่ายทาง
ี
�
ได้แก่ กลุ่มงานวิศวกรรมทาง 1 และกลุ่มงานวิศวกรรมทาง 2 มีการใช้กระดาษในส�านักงานน้อยกว่า 10 แผ่นต่อวัน
�
ั
�
ั
ั
ด้านระดับความสาคญของการใช้กระดาษในการปฏิบัติงาน โดยรวมแล้วกลุ่มงานภายในสานกงานออกแบบท้ง 7
กลุ่มงาน ส่วนใหญ่คิดว่าการใช้กระดาษในการปฏิบัติงานยังจ�าเป็นอยู่มากและส่งผลต่อการปฏิบัติงานมาก ด้านการพิมพ์งาน
ออกมาเป็นกระดาษ ทุกกลุ่มงานมีความคิดเห็นตรงกันว่ายังต้องมีการพิมพ์งานออกมาเป็นกระดาษอยู่ ส่วนความคิดเห็นเร่อง
ื
�
ื
ี
�
การทาสาเนา (Scan) จัดเก็บเอกสารไว้ท่เคร่องแม่ข่าย (Server) ส่วนใหญ่ทุกกลุ่มงานให้ความเห็นว่าสามารถทาได้โดย
�
ลักษณะรูปแบบการปฏิบัติงานและขนาดของกระดาษท่ใช้ปฏิบัติงานของแต่ละกลุ่มงานไม่เป็นอุปสรรคในการทาสาเนาจัดเก็บ
ี
�
�
โดยขนาดกระดาษที่พนักงานใช้ปฏิบัติงานมากที่สุดในทุกกลุ่มงาน คือ กระดาษขนาด A4 ส่วนกลุ่มงานฝ่ายอาคารจะมีการ
ใช้กระดาษขนาด A3 และ A2 รองลงมาตามล�าดับ ดู (รูปที่ 5) ประกอบ
�
�
ด้านปัญหาเก่ยวกับเอกสารภายในสานักงาน จากการสารวจความคิดเห็นพนักงานในสานักงานออกแบบ พบว่า
ี
�
ส่วนใหญ่ในสานักงานให้ความเห็นตรงกันว่า ความล่าช้าของการส่งต่อเอกสารระหว่างกลุ่มงาน เป็นปัญหามากท่สุด รองลงมา
ี
�
ึ
คือ การค้นหาเอกสารเก่าไม่เจอหรือค้นหาได้ยาก ซ่งกลุ่มงานมัณฑนศิลป์ กลุ่มงานวิศวกรรมอาคารและกลุ่มงานวิศวกรรมทาง
ื
ี
คิดว่าเป็นปัญหามากท่สุด โดยกลุ่มงานอ่นไม่ได้คิดว่าเป็นปัญหาหรืออุปสรรค ปัญหารองลงมา คือ ปริมาณเอกสารท่มากเกินไป
ี
ึ
ซ่งกลุ่มงานบริหารงานท่วไปคิดว่าเป็นปัญหามากที่สุดกว่าทุกกลุ่มงาน โดยกลุ่มงานอ่นไม่ได้คิดว่าเป็นปัญหาหรืออุปสรรค
ื
ั
ดู(รูปที่ 6) ประกอบ
รูปที่ 5 แผนภูมิเปรียบเทียบสัดส่วนขนาดกระดาษที่ใช้ในการปฏิบัติงาน
ที่มา: ผู้วิจัย (2561)
Vol. 9 214