Page 237 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 237

Research Proceedings in The 9  Graduate Integrity Conference: April, 2018
                                                  th







                    เกณฑ์การวัดความรู้สึกเฉลี่ยของนักศึกษาทั้ง 2 กลุ่ม ในการรับรู้สัญญาณชี้แนะมีดังต่อไปนี้
                           3 = รับรู้มากที่สุด   0 = เฉย ๆ        -3 = ไม่รับรู้มากที่สุด

                           2 = รับรู้มาก                          -2 = ไม่รับรู้มาก

                           1 = รับรู้                             -1 = ไม่รับรู้

                                                  ิ
                    การรับรู้และการเข้าใจความหมายในส่งท่สถาปนิกคิด  และถ่ายทอดออกมาในการออกแบบสภาพแวดล้อมทาง
                                                    ี
                                                                 ี
             ทัศนาการของอาคารศูนย์กิจกรรมนักศึกษา  ระหว่างกลุ่มนักศึกษาท่เรียนด้านการออกแบบ  และกลุ่มนักศึกษาท่ไม่ได้เรียน
                                                                                                   ี
             ด้านการออกแบบ สามารถสรุปได้ว่า นักศึกษาท่ไม่ได้เรียนด้านการออกแบบ สามารถรับรู้และเข้าใจความหมายของสัญญาณ
                                                 ี
                                                                       ี
             ช้แนะ หรือสัญลักษณ์ทางสถาปัตยกรรมได้เหมือนกันกับ กลุ่มของนักศึกษาท่เรียนด้านการออกแบบ โดยจะเห็นได้จากร้อยละ
              ี
             รวมถึงความรู้สึกเฉลี่ยของผู้ตอบแบบสอบถาม ในการรับรู้สัญญาณชี้แนะของกลุ่มตัวอย่างทั้ง 2 กลุ่ม
                    โดยมีร้อยละในการรับรู้มากกว่า  50  เปอร์เซ็นต์  และความรู้สึกเฉลี่ยต่อการรับรู้สัญญาณชี้แนะทางสถาปัตยกรรม
             มีระดับมากน้อยแตกต่างกัน ทั้งนี้เนื่องจากประสบการณ์ ภูมิหลัง สังคมวัฒนธรรม ของนักศึกษาทั้ง 2 กลุ่มต่างกัน จึงท�าให้
                                                         ี
                                                ึ
                          ี
             นักศึกษา 2 กลุ่มน้ รับรู้ได้มากน้อยแตกต่างกัน ซ่งนักศึกษาท่เรียนออกแบบสามารถรับรู้ และเข้าใจความหมายจากสภาพแวดล้อม
                                                   ี
             ทางทัศนาการของอาคารได้ดีกว่า กลุ่มนักศึกษาท่ไม่เรียนออกแบบ ดังจะเห็นได้จากเปอร์เซ็นต์ และความรู้สึกเฉล่ยการรับร ู้
                                                                                                   ี
             ของนักศึกษา ที่มีต่อสัญญาณชี้แนะของอาคารศูนย์กิจกรรมนักศึกษา
                    จากการสัมภาษณ์เชิงลึกกับสถาปนิก สามารถสรุปได้ว่า สถาปนิกต้องการชุบชีวิตอาคารร้าง ให้กลับมามีชีวิตสดใส
             อีกครั้ง โดยตึกนี้ถูกออกแบบมาเพื่อให้เป็นอาคารกิจกรรมของนักศึกษา โดยมีแนวคิดในการออกแบบว่า อยากให้นักศึกษา
             มีความสนุก ความสุข และความต่นเต้นในการเข้าไปใช้ภายในอาคาร จึงได้ถ่ายทอดแนวคิดผ่านองค์ประกอบทางด้านการออกแบบ
                                     ื
             เพ่อให้ได้งานสถาปัตยกรรมท่มีเอกลักษณ์  แนวคิดท่ชัดเจน  รวมถึงความเหมาะสมสาหรับการทากิจกรรมของนักศึกษา
                                                      ี
                                    ี
                                                                                �
                                                                                        �
               ื
             แต่ด้วยงบของการออกแบบอาคารนี้มีจ�ากัด จึงท�าให้งานออกแบบไม่สามารถถูกถ่ายทอดออกมาได้เต็มที่ เพราะงบประมาณ
             มีความส�าคัญมากต่องานออกแบบ
                                                 ี
                                                                              ี
                    จากการสัมภาษณ์เชิงลึกกับนักศึกษาท่เรียนด้านการออกแบบ และนักศึกษาท่ไม่ได้เรียนด้านการออกแบบ ใช้วิธีการ
             สัมภาษณ์โดยให้นักศึกษาทั้ง  2  กลุ่ม  จ�านวนกลุ่มละ  5  คน  นิยามค�าศัพท์ที่เป็นตัวแทนความรู้สึก  3  ค�าต่อ  1  สัญญาณ
             ชี้แนะของอาคาร SAC ซึ่งสัญญาณชี้แนะของอาคาร SAC ที่ผู้วิจัยน�ามาใช้สอบถามนักศึกษามีทั้งหมด 11 สัญญาณชี้แนะ
             แบ่งเป็นภายนอกอาคาร 6 สัญญาณช้แนะ ภายใน 5 สัญญาณช้แนะ จากการเก็บข้อมูลสามารถสรุปได้ว่า นักศึกษาท้ง 2 กลุ่ม
                                         ี
                                                             ี
                                                                                                    ั
                                                             ื
             สามารถรับรู้สัญญาณช้แนะไป  ในทิศทางแปลก  สนุกสนาน  ต่นเต้น  ไม่แตกต่างกัน  ได้แก่  สีภายในอาคาร  ลักษณะวัสด ุ
                              ี
             ภายในอาคาร  รูปทรงอาคาร  สีอาคาร  วัสดุอาคาร  พื้นผิวอาคาร  ลวดลายบนผนังอาคาร  อีกส่วนหนึ่งเป็นสัญญาณชี้แนะ
                                                            ื
                                                                          ื
              ี
                                           ื
             ท่นักศึกษาไม่รับรู้ถึงความสนุกสนาน ต่นเต้น แปลก เช่น ผังพ้นภายในอาคาร พ้นผิวภายในอาคาร หลอดไฟ, แสงไฟภายใน
             อาคาร แนวผนังอาคาร
                    ซึ่งนักศึกษาทั้ง 2 กลุ่มนี้มีการรับรู้ที่แตกต่างกันต่อสัญญาณชี้แนะแนวผนังภายนอกอาคาร โดยกลุ่มของนักศึกษา
             ท่เรียนด้านการออกแบบไม่รับรู้ถึงความสนุก  ความแปลก  ความต่นเต้น  ส่วนกลุ่มของนักศึกษาไม่เรียนด้านการออกแบบ
              ี
                                                                ื
             สามารถรับรู้ได้ถึงความสนุกสนาน ความแปลก ความตื่นเต้น
                    การสัมภาษณ์เชิงลึกเป็นการหาเหตุผลมาสนับสนุนข้อมูลหลัก  (การเก็บข้อมูลกับนักศึกษากลุ่มใหญ่  50/50  คน)
             ถึงทิศทางการรับรู้ความหมายของกลุ่มนักศึกษา ทั้ง 2 กลุ่ม รวมถึงการหาสัญญาณชี้แนะที่มีผลต่อแนวคิดอาคาร SAC และ
             สามารถน�าสัญญาณชี้แนะไปประยุกต์ปรับใช้กับงานออกแบบอาคารสถาปัตยกรรมอื่นๆ ได้

                    สัญญาณชี้แนะที่มีผลต่อแนวคิด แปลก ร่าเริง ตื่นเต้น สนุกสนาน มีชีวิตชีวา สดใส ได้แก่ 7 สัญญาณชี้แนะ คือ
             รูปทรงอาคาร  สีอาคาร  วัสดุอาคาร  พื้นผิวภายนอกอาคาร  ลวดลายบนผนังภายนอกอาคาร  สีภายในอาคาร  ลักษณะวัสดุ
             ภายในอาคาร




             Vol. 9                                       230
   232   233   234   235   236   237   238   239   240   241   242