Page 49 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 49
th
Research Proceedings in The 9 Graduate Integrity Conference: April, 2018
Markel กล่าวต่อถึงวิธีส่งเสริมความเป็นชุมชนพ้นว่ามีหลายวิธีด้วยกัน โดยส่วนมากจะส่งเสริมพฤติกรรมการร่วม
ื
ออกความคิดเห็น กิจกรรมเสริมสร้างความเป็นทีม หรือการร่วมงานกันระหว่างผู้ใช้งาน เพื่อท�าให้พื้นที่มีชีวิตชีวาและอยาก
ี
ื
เข้าร่วมกับผู้ใช้งานคนอ่น และจะสะท้อนออกในการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพท่สอดคล้อง เช่น การจัดให้มีกระดานข่าวสาร
ส�าหรับและแนะน�าตัวที่ช่วยให้ผู้ใช้งานท�าความรู้จักกันง่ายขึ้น การจัดให้พื้นที่เปิดโล่งเพื่อเพิ่มวิสัยในการมองเห็น หรือการใช้
รายละเอียดทางสถาปัตยกรรม เช่น สี วัสดุผิว อุปกรณ์ ของตกแต่ง เป็นตัวช่วยในการส่งเสริมพฤติกรรม
การศึกษาพื้นที่ท�างานร่วมในไทยยังมีอยู่น้อยมาก โดยเฉพาะเรื่องการเกิดความเป็นชุมชนในพื้นที่ท�างานร่วม
ี
ื
�
สุภัชชา โฆษิตศรีปัญญา (2559) พบว่าแนวทางการจัดการในประเทศไทยมีลักษณะใกล้เคียงกับพ้นท่ทางานร่วมในต่างประเทศ
ึ
ซ่งใช้กิจกรรมทางสังคม (Social Event) และกิจกรรมพัฒนาศักยภาพ (Workshop) เป็นเคร่องมือในการกระตุ้นให้เกิด
ื
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้รับบริการ แต่อุปสรรคทางด้านเช้อชาติของผู้รับบริการและการแบ่งกลุ่มตามองค์กร ทาให้ยากต่อการ
�
ื
เข้าถึงและการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้ใช้งาน
3. วิธีวิจัย
ในการศึกษาท�าความเข้าใจกับสถานที่และบริบทที่เกิดขึ้นจริง ผู้วิจัยเลือกใช้การศึกษาแบบกรณีศึกษา (Yin, 1995)
เพื่อหาสาเหตุของการเกิดแรงสนับสนุนทางสังคมในพื้นที่ท�างานร่วม โดยใช้การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงอธิบายถึงความเชื่อมโยง
ระหว่างเหตุและผล สาเหตุในบริบทนี้คือพื้นที่ท�างานร่วมซึ่งประกอบด้วยปัจจัยด้านกายภาพและการบริหารจัดการ ผลลัพธ์
ี
ั
ี
ึ
ื
ท่การศึกษาคร้งน้ให้ความสนใจคือรูปแบบของแรงสนับสนุนท่เกิดข้นในพ้นท่ทางานร่วม และใช้การเก็บข้อมูลกรณีศึกษา
ี
�
ี
ี
ื
�
ึ
ื
ี
ื
แบบหลายกรณีเพ่อเปรียบเทียบและหาแบบแผนของพฤติกรรมท่เกิดข้นในพ้นท่ทางานร่วมเพ่อสร้างความน่าเชื่อถือและ
ิ
ั
ี
�
ความน่าไว้ใจให้การการศึกษาคร้งน้ การศึกษาคร้งน้เร่มจากการค้นคว้าข้อมูลทุติยภูมิในการทาความเข้าใจต่อแนวคิดแรงสนับสนุน
ั
ี
�
ทางสังคม การจัดสภาพแวดล้อมท่ทาให้เกิดปฏิสัมพันธ์ และการบริหารจัดการทาท่ให้เกิดปฏิสัมพันธ์ เพ่อนามาใช้ในการ
ี
ื
ี
�
�
ออกแบบการวิจัย
3.1 กรอบทฤษฎีที่ใช้ในการศึกษา
จากการศึกษาเบื้องต้น ผู้วิจัยเชื่อว่าพลวัตความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม การเกิดปฏิสัมพันธ์
ระหว่างผู้ใช้งาน และการจัดการสภาพแวดล้อม มีส่วนส�าคัญต่อการส่งเสริมให้เกิดแรงสนับสนุนทางสังคม จึงอาศัยแนวคิด
องค์ประกอบแรงสนับสนุนทางสังคม (Cutrona & Cole, 2000) เพื่อใช้เป็นกรอบในการศึกษา สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
ทางด้านการจัดกลุ่มพื้นที่ใช้งาน (Zoning) และรายละเอียดทางสถาปัตยกรรม (Architectonic Detail) กับการบริหารจัดการ
(Management) ดังแสดงไว้ในแผนภูมิ 3.1
แผนภูมิที่ 3.1 กรอบแนวคิดทฤษฎีในการศึกษา
ที่มา: ผู้วิจัย (2560)
Vol. 9 42