Page 50 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 50
3.2 เครื่องมือในการเก็บข้อมูล
เครื่องมือท่ใช้ในการเก็บข้อมูลประกอบด้วย การสังเกตแบบมีส่วนร่วมและการสัมภาษณ์ขั้นพ้นฐานแบบม ี
ี
ื
�
ื
ี
�
โครงสร้างในประเด็นของนโยบายการส่งเสริมให้เกิดแรงสนับสนุนทางสังคมในพ้นท่ทางานร่วม และการสารวจการจัดกลุ่ม
พื้นที่ใช้งาน (Zoning) และรายละเอียดทางสถาปัตยกรรม (Architectonic Detail) เพื่อน�าข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์เนื้อหา
�
โครงสร้างของการสัมภาษณ์ประกอบด้วยข้อมูลพ้นฐานของพ้นท่ทางานร่วม เช่น ระยะเวลาท่ก่อต้ง อาชีพของ
ื
ื
ี
ั
ี
ผู้ใช้บริการ จ�านวนผู้ใช้งาน และค่าบริการ เพื่ออธิบายถึงบริบทโดยรวมของพื้นที่ท�างานร่วม ส่วนค�าถามที่เกี่ยวข้องกับการ
ส่งเสริมแรงสนับสนุนทางสังคมมีอยู่ 4 ประเด็นตามกรอบแนวคิดของ Cutrona & Cole (2000) ดังแสดงไว้ข้างต้น
3.3 พื้นที่กรณีศึกษา
พ้นท่ทางานร่วมท่ใช้เป็นกรณีศึกษา คือ “เดอะเวิร์คลอฟท์” (The Work Loft) ต้งอยู่บริเวณสถานีรถไฟฟ้าศาลาแดง
ี
ั
ื
�
ี
จังหวัดกรุงเทพมหานครฯ เป็นลักษณะอาคารพาณิชย์ 6 ชั้น พื้นที่ของโครงการเริ่มตั้งแต่ชั้น 3 ถึงชั้น 6 รวมขนาดพื้นที่
ใช้สอยได้ประมาณ 750 ตารางเมตร เปิดให้บริการมาแล้วประมาณ 2 ปี ผู้ใช้บริการส่วนมากเป็นชาวต่างชาติ และประกอบ
อาชีพด้านการตลาดและธุรกิจเป็นส่วนมาก มีบริการพื้นที่ท�างานร่วมรายวันและรายเดือน พื้นที่ส�างานให้เช่า และร้านกาแฟ
ภายในโครงการเดียวกัน
้
้
้
้
่
้
่
้
่
ั
่
การเขาใชพื้นที่ท�างานรวมจะตองผานจุดตอนรับของพื้นที่ท�างานรวมกอน เพื่อรับฟงขอชี้แนะในการใชสถานที่
ี
ื
และตาแหน่งท่ต้งของพ้นท่ใช้สอยในโครงการ โดยทางเข้าโครงการอยู่ท่ช้น 5 ของอาคารสามารถเข้าถึงได้ด้วยลิฟต์ บรรยากาศ
ี
ั
�
ั
ี
็
ุ
ู
ั
่
่
้
ี
ี
ื
ู
ี
็
ื
ี
้
ี
่
�
ภายในพนททางานเยนสบาย มเสยงพดคยกนเลกน้อย มผ้ใช้งานไม่หนาแน่น การออกแบบภายในพนททเปิดโล่งสามารถ
ี
มองเห็นได้โดยรอบ และ การใช้อิฐตกแต่งผนังและฝ้าเปลือย
ี
ี
�
ั
ี
ในพ้นท่ทางานร่วมมีการจัดโต๊ะทางานเป็นกลุ่ม 4-6 ท่น่ง ผู้ใช้ไม่สามารถจองท่นั่งล่วงหน้าได้ มีเต้าเสียบอุปกรณ์
ื
�
ื
�
ไฟฟ้าและอินเทอร์เน็ตไร้สายครอบคลุมท่วพ้นท่ทางานร่วม ส่วนบริการพิมพ์เอกสารและถ่ายสาเนาหรือพ้นท่ห้องประชุมและ
ี
ื
�
ั
ี
ห้องสัมมนาจะมีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม
4. ผลการวิจัย
4.1 การจัดกลุ่มพื้นที่ใช้สอย (Zoning)
ื
เน่องจากข้อจากัดด้านรูปแบบของอาคารพาณิชย์พ้นท่การใช้สอยจะถูกแบ่งกลุ่มให้อยู่ในแต่ละช้นของอาคาร
ั
�
ี
ื
ึ
ได้แก่ ช้น 3 เป็นพ้นท่เช่าสาหรับสานักงานจึงไม่มีโต๊ะสาหรับผู้ใช้บริการพ้นท่ทางานร่วม ซ่งมีพ้นท่สานักงานของเจ้าของ
�
ื
ั
ี
�
ื
ี
�
�
�
ี
ื
ั
ื
�
ื
ี
ี
ี
อยู่ในช้นน้ด้วย ช้น 4 และ ช้น 5 มีพ้นท่สานักงานเช่าบางส่วน และมีโต๊ะสาหรับทางานร่วมให้บริการพร้อมพ้นท่เตรียมอาหาร
ั
�
ั
�
ส่วนชั้น 6 เป็นพื้นที่ส�านักงานเช่าบางส่วนและเป็นร้านกาแฟ สามารถปรับเปลี่ยนเป็นพื้นที่ส�าหรับจัดกิจกรรมทางสังคมได้
(รูปที่ 4.1)
รูปที่ 4.1 ผังพื้นโครงการ
(ที่มา: https://www.theworkloft.com/gallery/)
ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
43 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.