Page 53 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 53
th
Research Proceedings in The 9 Graduate Integrity Conference: April, 2018
5. สรุปและอภิปรายผล
�
ี
ั
จากการสารวจสภาพแวดล้อมและการสัมภาษณ์ผู้ให้บริการ ผู้วิจัยสามารถสรุปผลกระทบจากปัจจัยท้ง 3 ท่มีต่อ
การส่งเสริมแรงสนับสนุนทางสังคมได้ดังต่อไปนี้
5.1 การจัดกลุ่มพื้นที่การใช้งานกับการส่งเสริมแรงสนับสนุนทางสังคม
ื
้
ั
การจัดกลุ่มพนท่ของพ้นท่งานร่วมแห่งน้ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งานได้ดี จากผลการวิจยพบว่ามีความ
ี
ี
ี
ื
สอดคล้องการศึกษาของ Peponis (2007) คือ การจัดวางพื้นที่ให้ทางสัญจรให้ซ้อนทับและสอดแทรกในพื้นที่ท�างานจะช่วย
ื
ิ
�
เพ่มการรับรู้ให้กับผู้ใช้งาน การเห็นพฤติกรรมของผู้ใช้งานท่านอ่นช่วยสร้างความเข้าใจและทาให้ผู้ใช้งานปฏิบัติตนได้เหมาะสม
ยิ่งขึ้น ผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่าพื้นทีเปิดที่สามารถเห็นการเคลื่อนไหว กิริยา ท่าทาง ของผู้ใช้งานท่านอื่น ท�าให้ผู้ใช้ทราบ
้
่
ี
ี
ิ
ั
้
ื
่
ื
ิ
ั
่
�
็
ได้ทนทีวาควรปฏบัตตนใหสอดคล้องกบกฎระเบยบหรอวัฒนธรรมการท�างานในพ้นทได ไมว่าจะเปนการทางานอยางเงียบสงบ
่
หรือการพูดคุยผ่อนคลายกับคนแปลกหน้า
ึ
ี
ี
ั
ี
ื
�
ฉะน้นการจัดกลุ่มพ้นท่การใช้งานท่ดีจะช่วยส่งสัญญาณในการปฏิบัติตนของผู้ใช้งาน ทาให้ปฏิสัมพันธ์ท่เกิดข้น
ไม่น�ามาสู่ความขัดแย้งระหว่างผู้ใช้งาน สอดคล้องกับหลักการของ Cutrona & Cole (2000) ในเรื่องการเพิ่มปฏิสัมพันธ์
การสร้างความเข้าใจให้กับผู้ใช้งาน และการลดความขัดแย้งระหว่างผู้ใช้งาน
5.2 รายละเอียดทางสถาปัตยกรรมกับการส่งเสริมแรงสนับสนุนทางสังคม
ี
�
ึ
�
ื
ผลการสารวจพบว่ารูปแบบของปฏิสัมพันธ์ท่เกิดข้นในพ้นท่ทางานร่วมสอดคล้องกับการศึกษาของ McCoy (2000)
ี
ี
ื
ื
�
เพียงบางส่วน เน่องจากลักษณะของงานในพ้นท่ทางานร่วมมีแตกต่างจากสานักงานปกติท่วไปอย่างมาก ท้งน้การทางานในพ้นท ่ ี
ื
ี
ั
ั
�
�
�
ทางานร่วมไม่ต้องการความร่วมมือระหว่างพนักงาน แต่เน้นสร้างปฏิสัมพันธ์ทางสังคมระหว่างผู้ใช้งานจากหลากหลายอาชีพ
และการไม่อนุญาตให้ตกแต่งสถานที่ด้วยตนเอง ท�าให้ไม่เกิดปฏิสัมพันธ์ด้านการควบคุมและการแสดงออกความเป็นตัวตน
้
ี
ั
�
่
ี
ิ
ั
มเพยงปฏสมพนธ์ด้านงานเท่านนทสารวจพบในพนททางานร่วม ยกตวอย่างการใช้กระดานข่าวสารระหว่าง
ั
ี
่
้
ื
�
ี
ั
ึ
ี
�
็
�
ู
ั
ี
่
ผ้ใช้งานเอง หรือรูปแบบโต๊ะทไม่มีผนังกนทาให้ผู้ใช้งานท่มาด้วยกันทางานร่วมกันได้สะดวกและมประสิทธิภาพข้น อย่างไรกตาม
ี
งานวิจัยพบว่าการจัดอุปกรณ์และการเลือกใช้เฟอร์นิเจอร์เป็นการส่งเสริมให้เกิดปฏิสัมพันธ์ และเป็นจุดเร่มต้นของการเกิด
ิ
เป็นสังคมในพื้นที่ท�างานร่วม
5.3 การบริหารจัดการกับการส่งเสริมแรงสนับสนุนทางสังคม
ี
ื
การบริหารจัดการมีบทบาทสาคัญในการกาหนดทิศทางของพ้นท่ทางานร่วมโดยควรมีการจัดกิจกรรมและการ
�
�
�
ื
จัดพ้นท่การใช้งานให้เหมาะสมกับนโยบายการส่งเสริมให้เกิดแรงสนับสนุนทางสังคม ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาของ Parrino
ี
ั
ี
(2015) แต่ท้งน้ยังขาดการพิสูจน์จากข้อมูลด้านผู้ใช้งาน มีเพียงการสังเกตการณ์เบ้องต้นและการให้สัมภาษณ์จากผู้จัดการ
ื
ื
ั
เท่าน้นท่แสดงว่าผู้ใช้บริการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมในพ้นท่ร้านกาแฟท่ทางผู้บริหารพ้นท่จงใจให้เป็นพ้นท่เพ่อการน้มากกว่า
ี
ี
ี
ื
ื
ี
ี
ื
ี
พื้นที่ท�างานร่วมบริเวณชั้น 3 ถึงชั้น 5 ซึ่งสอดคล้องในประเด็นที่ว่าปฏิสัมพันธ์ทางสังคมจะเกิดขึ้นได้ “ดีขึ้น” หากได้รับการ
จัดการที่สนับสนุนการเกิดปฏิสัมพันธ์
อย่างไรก็ตามผู้วิจัยเห็นว่าการบริหารจัดการในพ้นท่ทางานร่วมสามารถส่งเสริมให้เกิดแรงสนับสนุนทางสังคมได้
ื
ี
�
ิ
ครบถ้วนท้ง 4 ประเด็น ท้งการเพ่มปฏิสัมพันธ์ การสร้างความเข้าใจให้กับผู้ใช้งาน การกาหนดหน้าท่ของพนักงาน และการลด
ั
ี
�
ั
ความขัดแย้งของผู้ใช้งาน แต่ยังขาดข้อพิสูจน์จากผู้ใช้งานว่าสามารถรับรู้ถึงแรงสนับสนุนสังคมในพื้นที่ท�างานร่วมได้หรือไม่
ื
ื
�
ี
จึงจะทาให้การสรุปผลเร่องแรงความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารจัดการพ้นท่ทางานร่วมกับการสร้างแรงสนับสนุนทางสังคม
�
ให้มีความน่าเชื่อถือมากขึ้น
Vol. 9 46