Page 62 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 62
3. การต่อเติมห้องครัว มีการต่อเติมห้องครัว โดยกรณีศึกษาส่วนใหญ่ต่อเติมเหมือนกัน คือ ติดตั้งกระเบื้องที่ผนัง
เพิ่มเพื่อป้องกันน�้ามันกระเด็น มี Case ที่ 2 ที่ติดตั้งตู้ลอยเพิ่มเนื่องจากต้องการเพิ่มที่เก็บของ เนื่องมาจากโครงการจัดมา
ให้เพียงเคาน์เตอร์ล่าง และบางส่วนต้องการติดเครื่องดูดควันเพิ่มเติมในอนาคตเนื่องมาจากปัญหาครัวระบายอากาศได้ไม่ดี
กลิ่นอบอวลอยู่ในห้อง ซึ่งปัจจุบันนี้กรณีศึกษาส่วนมากแก้ปัญหาด้วยการประกอบอาหารที่ระเบียง
4. รูปแบบครัวท้งหมดท่ทาการสารวจน้น ครัวท้งหมดใช้ผังรูปตัว I เน่องมาจากรูปแบบพ้นท่ของคอนโดมิเนียม
ั
ั
ื
ื
ี
ั
�
�
ี
�
ี
ี
ี
ั
ื
สะดวกสาหรับผังครัวรูปแบบน้เท่าน้น พ้นท่โดยเฉล่ยของส่วนประกอบอาหารภายในคอนโดประเภท City Condominium
ที่ท�าการเก็บข้อมูล คือ 3 ตารางเมตร
ตารางที่ 3 วัสดุที่ใช้ประกอบชุดครัว และปัญหาที่เกิดขึ้น
วัสดุที่ใช้ประกอบชุดครัว ปัญหาที่พบในวัสดุที่ใช้ประกอบชุดครัว
Case
Top counter หน้าบาน โครงตู้ มือจับ Top หน้าบาน โครงตู้ มือจับ
1 Prompto Laminate Laminate ไม้ ไม่มีมือจับ
2 The Cube หินสังเคราะห์ Laminate ไม้ อลูมิเนียม
3 Lumpini หินสังเคราะห์ ท�าสี ไม้ อลูมิเนียม
4 Lumpini Laminate Laminate ไม้ ไม่มีมือจับ
5 Icondo Laminate Laminate ไม้ ไม่มีมือจับ
6 Icondo Laminate Laminate ไม้ ไม่มีมือจับ
7 Icondo Laminate Laminate ไม้ ไม่มีมือจับ
ที่มา: ผู้วิจัย (2561)
จากตารางสามารถสรุปได้ว่า
1. วัสดุที่นิยมใช้ในการท�า Top Counter คือ ลามิเนต ซึ่งจากการสัมภาษณ์พบว่า ท็อปเคาน์เตอร์ลามิเนตนั้นเกิด
ื
ี
ปัญหาเร่องความช้นเม่อใช้ไปได้ระยะหน่ง ซ่งปัญหาท่พบเหมือนกันทุกกรณี คือ บริเวณอ่างล้างจาน ท่เม่อใช้ไประยะหน่งแล้ว
ึ
ื
ื
ี
ื
ึ
ึ
ซิลิโคนยาแนวบริเวณอ่างล้างจานจะเร่มเส่อมสภาพ ซ่งบางรายเกิดไม้บวมบริเวณอ่างล้างจานและมีราข้นบริเวณรอบๆ
ิ
ึ
ึ
ื
ี
ั
ื
อ่างล้างจานเป็นบางราย ส่วนเร่องความร้อนน้นพบว่ากรณีศึกษาท่ใช้งานท็อปเคาน์เตอร์ลามิเนตส่วนใหญ่ไม่กล้าวางของ
ร้อนจัดลงบนท็อปเคาน์เตอร์เนื่องจากกลัวท�าให้ท็อปเป็นรอย จากการสัมภาษณ์พบว่า ผู้ใช้ท็อปลามิเนตจะนิยมหาผ้ามารอง
ก่อนวางของร้อนไว้บน อีกปัญหาที่พบได้จากท็อปลามิเนต คือ การไม่ทนรอยขูดขีด และการกระแทกท�าให้ท็อปครัวเกิดรอย
ได้ง่าย ส่วนผู้ที่ใช้หินสังเคราะห์ยังไม่พบว่ามีปัญหาใดในการใช้งาน
ึ
ั
ี
2. หน้าบาน หน้าบานท่มากับโครงการคอนโดมิเนียมทั้งหมดน้นใช้หน้าบานลามิเนตหรือเมลามีน ซ่งจากการสัมภาษณ์
ื
ี
ื
ไม่พบว่ามีปัญหาใดๆ ในการใช้งาน แต่ส่วนใหญ่จะกลัวปัญหาเร่องความช้นในส่วนของหน้าบานใต้อ่างล้างจาน ส่วน Case ท่ 3
เป็นหน้าบานกรุไม้อัดท�าสีซึ่งยังไม่พบปัญหาการใช้งานเช่นกัน
3. โครงตู้ ทุกกรณีสาคัญท่ทาการสัมภาษณ์น้นใช้โครงตู้ไม้หมด แต่ท้งน้ผู้วิจัยไม่แน่ใจว่าแต่ละครัวน้นใช้ไม้ประเภทใด
ั
ี
ั
ี
�
ั
�
ซ่งครัวสาเร็จท่มากับโครงการนั้นคาดว่าจะเป็น MDF หรือ Particle Board ส่วนใน Caseท่ 3 ซ่งเป็นครัวทาเองน้นใช้
ึ
�
ั
ึ
�
ี
ี
ี
�
ื
โครงไม้จริงกรุไม้อัด เน่องมาจากผู้ให้กรณีสาคัญคิดว่ากันความช้นได้มากกว่า MDF หรือ Particle Board ส่วนปัญหาท่พบเจอ
ื
คือ โครงตู้บวมจากความชื้นโดยเฉพาะโครงตู้ที่ติดตั้งอ่างล้านจาน ส่วนใน Caseที่ 4 นั้น พบว่าแผ่นลามิเนตแปะผิวบริเวณ
ตีนตู้หลุดล่อนออกมาด้วย
ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
55 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.