Page 59 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 59
Research Proceedings in The 9 Graduate Integrity Conference: April, 2018
th
ี
�
ตามไปด้วย รูปแบบครัวในคอนโดมิเนียมส่วนใหญ่จึงอยู่ในรูปแบบครัวตะวันตก (ครัวเบา) ข้อดีท่สาคัญอันหน่งของครัว
ึ
ประเภทนี้ก็ คือ มีน�้าหนักเบา ก่อสร้างง่าย และแลดูสวยงามเรียบร้อยกว่า
รูปที่ 2 รูปตัวอย่างครัวภายในคอนโดประเภท City condominium
ที่มา: https://thinkofliving.com วันที่สืบค้น 23 ก.พ. 2561
1.4 ความแตกต่างระหว่างครัวไทยและครัวภายในคอนโดมิเนียม
จากท่ได้กล่าวไปข้างต้นแล้วครัวไทยน้นเป็นครัวหนัก ส่วนครัวภายในคอนโดมิเนียมนั้นเป็นครัวเบาหรืออาจจะ
ั
ี
เรียกว่าส่วนเตรียมอาหาร (Pantry) ก็ได้ จากการศึกษารูปแบบครัวไทยของรังสฤษฎ์ เชียรวิชัย (2553) ซึ่งเราจะสามารถ
น�ามาเปรียบเทียบข้อแตกต่างระหว่างครัวไทยและคอนโดมิเนียมได้ตามหัวข้อดังต่อไปนี้
ตารางที่ 1 เปรียบเทียบข้อแตกต่างระหว่างครัวไทยและครัวคอนโดมิเนียม
ครัวไทย ครัวคอนโดมิเนียม
1. รูปแบบผังพื้นส่วนครัว
1.1 ต�าแหน่งที่ตั้งของครัว มักจะอยู่หลังบ้าน หรือแยกออกนอกตัวบ้าน อยู่ติดกับประตูทางเข้า หรือติดระเบียง
บางบ้านอาจมีครัวสองส่วน คือครัวใน กับ
ครัวนอก
1.2 การจัดวางผังครัว หลากหลายตามขนาดพื้นที่ แต่ครัวไทยมัก มักจะใช้ผังครัวรูปตัว I หรือ L ครัวมี
จะใช้พื้นที่เยอะ เนื่องจากมีอุปกรณ์มาก ขนาดเล็ก เพราะพื้นที่จ�ากัด
2. วัสดุ
2.1 วัสดุของผนัง เน้นวัสดุที่ทนทานท�าความสะอาดง่าย เช่น แล้วแต่ทางคอนโดมิเนียมจะออกแบบ
กระเบื้อง พื้นคอนกรีต ส่วนใหญ่เป็นผนังฉาบปูนทาสี
2.2 วัสดุของพื้น เน้นวัสดุที่ทนทานท�าความสะอาดง่าย เช่น แล้วแต่ทางคอนโดมิเนียมจะออกแบบ
กระเบื้อง ปูนขัดมัน ส่วนมากมักเป็นพื้นลามิเนต หรือพื้น
2.3 วัสดุที่ใช้ประกอบ มักใช้ครัวก่ออิฐฉาบปูน เพื่อความทนทาน กระเบื้องมักเป็นครัวส�าเร็จรูป ท�าจากไม้อัด
ชุดครัว และง่ายต่อการท�าความสะอาด พาร์ติเคิลบอร์ด หรือ MDF
Vol. 9 52