Page 60 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 60
ตารางที่ 1 (ต่อ) เปรียบเทียบข้อแตกต่างระหว่างครัวไทยและครัวคอนโดมิเนียม
ครัวไทย ครัวคอนโดมิเนียม
3. อุปกรณ์ภายในห้องครัว
3.1 จ�านวนอุปกรณ์ที่ใช้ มีอุปกรณ์เยอะ เน่องมาจากรูปแบบอาหาร เนื่องจากข้อจ�ากัดเรื่องพื้นที่ท�าให้ไม่
ื
ในประกอบอาหาร มีหลายประเภท เช่น ผัด ทอด นึ่ง ย่าง สามารถจัดเก็บอุปกรณ์ได้มาก อุปกรณ์
ต้ม แกง ย�า ในคอนโดมิเนียมจึงมีน้อยชิ้น แต่เน้น
ประโยชน์ใช้สอยเป็นหลัก
3.2 พื้นที่ในการจัดเก็บ เนื่องจากห้องครัวมักมีพื้นที่เพียงพอ พื้นที่มีจ�ากัด มักท�าให้ที่เก็บไม่เพียงพอ
อุปกรณ์ ต่อการใช้งาน จึงไม่มีปัญหาเรื่องพื้นที่
การจัดเก็บอุปกรณ์มากนัก
4. ระบบระบายอากาศ ระบายอากาศได้หลายวิธี ขึ้นอยู่กับ ครัวคอนโดมิเนียมมักจะใช้เครื่องดูดควัน
ภายในห้องครัว ลักษณะที่ตั้งของครัวด้วย ถ้าเป็นครัว เพื่อช่วยในการก�าจัดกลิ่นและควันในครัว
ภายนอกมักจะมีช่องเปิดให้อากาศระบาย และใช้การเปิดประตูระเบียงเพื่อช่วย
ออกไปอยู่แล้ว ส่วนครัวภายในนั้นมัก ในการระบายกลิ่นและควันในการประกอบ
ระบายอากาศจากการเปิดประตูหน้าต่าง อาหาร
บางบ้านอาจติดตั้งเครื่องดูดควันช่วยด้วย
หรืออาจท�าช่องเปิดตรงเพดานเพิ่มด้วย
ก็ได้
ที่มา: ผู้วิจัย (2561)
จากตารางจะเห็นได้ว่าครัวไทยนั้นมีความแตกต่างกับครัวคอนโดมิเนียมค่อนข้างมาก ครัวไทยนั้นออกแบบมา
ให้สอดคล้องกับการประกอบอาหารไทย ส่วนครัวภายในคอนโดมิเนียมนั้นถูกก�าหนดจากปัจจัยหลายๆ อย่าง เช่น รูปแบบ
ห้องชุด ขนาดพื้นที่ หรือบางทีอาจเป็นครัวส�าเร็จซึ่งติดตั้งมาให้อยู่แล้ว การใช้ครัวคอนโดมิเนียมประกอบอาหารไทยนั้นจึง
ย่อมท�าให้เกิดปัญหา เนื่องจากรูปแบบครัวนั้นไม่สอดคล้องกับพฤติกรรมการประกอบอาหารไทย
2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย
ี
�
ื
ื
2.1 เพ่อศึกษาปัญหาในการประกอบอาหารไทย และความคิดเห็นเก่ยวกับพ้นท่ประกอบอาหารสาหรับผู้อยู่อาศัย
ี
ภายในคอนโดมิเนียม
2.2 เพื่อศึกษาความต้องการถึงสิ่งอ�านวยความสะดวกภายในห้องครัวส�าหรับผู้ที่ต้องการประกอบอาหารไทย
ี
ื
ื
2.3 เพ่อเสนอแนะเป็นแนวทางในการออกแบบรูปแบบพ้นท่ประกอบอาหารไทยเพ่อเป็นแนวทางพัฒนาให้สอดคล้อง
ื
กับความต้องการอยู่อาศัยของคนไทยในปัจจุบัน
3. วิธีการวิจัย เครื่องมือวิจัย และระเบียบวิธีวิจัย
การศึกษาและการวิจัยคร้งน้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพประยุกต์เพ่อต้องการหาแนวทางการออกแบบครัวไทยภายใน
ื
ั
ี
คอนโดมิเนียม โดยการสังเกตพ้นท่ประกอบอาหารและสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูล ใช้เวลาในการเก็บข้อมูล 2 อาทิตย์ ระหว่างวันท ี ่
ี
ื
28 มกราคม ถึง 10 กุมภาพันธ์ 2561 เลือกเวลาสัมภาษณ์ตามความสะดวกของผู้ให้ข้อมูล การวิจัยในครั้งนี้เป็นการศึกษา
สภาพปัญหา และวิเคราะห์สภาพปัจจุบันของสภาพแวดล้อมครัวภายในคอนโดมิเนียม โดยการพิจารณาจากปัจจัยต่างๆ เช่น
ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
53 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.