0062

ผศ.ดร.เบญจมาศ กุฏอินทร์

วุฒิการศึกษา :

–  สถ.บ. เกียรตินิยม อันดับ 2 (สถาปัตยกรรมภายใน) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าจ้าคุณทหารลาดกระบัง, 2536.
–  M.S.(Housing, Interior design and resource management), Virginia Tech, USA., 2540.
– Graduate Certificate in Gerontology, Virginia Tech, USA., 2545.
– Ph.D.(Housing, Interior design and resource management) Virginia Tech, USA., 2545

ความเชี่ยวชาญ
การออกแบบทางสถาปัตยกรรมภายใน (Interior Architecture Design)
การออกแบบเพื่อผู้สูงอายุและคนพิการ (Design for Older persons and persons with Disabilities)
การออกแบบพื่อนทุกคน (Universal Design)
การประเมินอาคารหลังการเข้าใช้ (Post Occupancy Evaluation)
การอนุรักษ์อาคาร (Building Conservation)
การเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative data collection)

สาขาวิจัยที่มีความชำนาญพิเศษ (แตกต่างจากวุฒิการศึกษา)

การออกแบบเพื่อผู้สูงอายุและคนพิการ (Design for Older persons and persons with Disabilities), การออกแบบพื่อนทุกคน (Universal Design), การประเมินอาคารหลังการเข้าใช้ (Post Occupancy Evaluation), การอนุรักษ์อาคาร (Building Conservation)งานวิจัย

เบญจมาศ  กุฏอินทร์. (2558). การวิจัยเชิงปฏิบัติการพัฒนาโปรแกรมป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุไทยที่อาศัยอยู่ในชุมขน. (รายงานผลการวิจัย) กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.).

กุลวดี จองวรกุล, ณัทธร พิทยรัตน์เสถียร, ศิริวรรณ ศิริบุญ, ศุภเดช หิมะมาน, พงษ์รวี ลาสกุล, ครรชิต สมจิตต์, อิศวรา ศิริรุ่งเรือง, รัตนารรณ ตันกุระ, ภูเมธ แก้วเขียว, กรรวิภาร์ หงษ์งาม, วิไลรัตน์ ศรีคํา, วิภาดา เศษบุบผา, วรวรรณ อุบลเลิศ, สุทัศน์ แก้วคํา, กรองทอง จุลิรัชนีกร, อรอนงค์ โกวิทเสถียรชัย, อรอนงค์ สงเจริญ, จตุรงค์ บุณยรัตนสุนทร, มาลิน เนาว์นาน, พิมพา ขจรธรรม, พรพรรณ์ สมบูรณ์, สันติ ไทยยืนวงษ์, ประพัฒน์ สีใส, เจนศักดิ์ เอกบูรณะวัฒน์, สําเนียง องสุพันธ์กุล, ขวัญฤทัย อยู่ทองอ่อน, เบญจมาศ กุฏอินทร์, วราภรณ์ มามี, ช่อเพชร พานระลึก, อรอุมา นาทสีทา, ชุมเขต แสวงเจริญ, ภวินท์ สิริสาลี, และ วิรุจน์ สมโสภณ. (2557). การศึกษาบูรณาการความร่วมมือทางวิชาการด้านคนพิการและการจัดสัมมนาวิชาการระดับชาติด้านคนพิการ ครั้งที่ 6 ประจําปี 2557 “เท่าเทียม สร้างสรรค์ สู่สังคมเป็นสุขร่วมกัน” (creative equality towards inclusive society). (รายงานผลการวิจัย) กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.

เบญจมาศ กุฏอินทร์, และวิรชฎา บัวศรี. (2553). งานวิจัยเรื่องครัวสำหรับคนพิการทางการมองเห็น Kitchen for People with Visual Impairments. (รายงานผลการวิจัย) กรุงเทพฯ: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.

เมทินี เศรษฐนานุรักษ์, ปิยะนุช เจดีย์ยอด, วีรยา เอี่ยมฉ่ำ, กิตติกานต์ พรประทุม, เบญจมาศ กุฏอินทร์, วิรชฎา บัวศรี, และพรพรรณ์ สมบูรณ์ (2552). การพัฒนาครัวตัวอย่างเพื่อคนพิการทางการเห็น.(รายงานผลการวิจัย) กรุงเทพฯ: วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล.

เบญจมาศ  กุฏอินทร์. (2551). สภาพแวดล้อมบำบัดสำหรับผู้ป่วยโรคสมองเสื่อม: Therapeutic environment for People with Alzheimer Diseases. (รายงานผลการวิจัย) กรุงเทพฯ: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.

 ตำราเรียน

เบญจมาศ กุฏอินทร์. (2562). บทที่ 4 แนวทางการประเมินและการปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้มีความปลอดภัย ใน แนวเวชปฏิบัติการป้องกันและประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ. หน้า 21-28. โดย สถาบันเวชศาสตร์สมเด็จพระสังฆราชญาณสังวรเพื่อผู้สูงอายุ. กรุงเทพฯ: สินทวีการพิมพ์.

เบญจมาศเบญจมาศ  กุฏอินทร์. (2547). การวิเคราะห์ข้อมูลวิจัยสถาปัตยกรรมภายในด้วยโปรแกรมสถิติ. กรุงเทพฯ: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.

บทความวิชาการ

ปารมิตา สรรเพชุดาญาณ และ เบญจมาศ กุฏอินทร์. (2565). ความเป็นส่วนตัวของนักเรียนนักศึกษาที่ใช้งานห้องพักร่วมกันในสถานการณ์โควิด 19 และแนวทางการออกแบบปรับปรุงห้องพักเพื่อสร้างความเป็นส่วนตัว. บทความวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษาครั้งที่ 13 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล. (Graduate Integrity: GI 13), (13), 144-158.

ร่มฉัตร ทองทับ และ เบญจมาศ กุฏอินทร์. (2565). ลักษณะทางสถาปัตยกรรมจีนและแนวทางการอนุรักษ์บ้านโซวเฮงไถ่และบ้านเหลียวแล ในชุมชนตลาดน้อย. บทความวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษาครั้งที่ 13 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล. (Graduate Integrity: GI 13), (13), 159-170.

สยุมภู โต๊ะทับทิม และ เบญจมาศ กุฏอินทร์. (2564). การประเมินสภาพแวดล้อมร้านอาหารในอาคารอนุรักษ์ในตึกแถว ซอยพระยาศรี ถนนเฟื่องนคร กรุงเทพมหานคร. บทความวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล. (Graduate Integrity: GI 12), (12), 166-181.

ปราญชลี จันทร์ทอง และ เบญจมาศ กุฏอินทร์. (2564). การประเมินสภาพแวดล้อมภายในห้องพัและพื้นที่ส่วนกลางในอาคารที่ให้เลี้ยงสัตว์ในแฮปปี้คอนโดมิเนียม ลาดพร้าว 101 กรุงเทพมหานคร. บทความวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล. (Graduate Integrity: GI 12), (12), 182-196.

Kutintara, B. (2019). Designing a learning strategy to develop a universally-design restaurant project. The 13th International Convention on Rehabilitation Engineering and Assistive Technology. August 26-29, 2019. Canberra, Australia.

วรกันต์ เพียรโรจน์, พิยะรัตน์  นันทะ, และเบญจมาศ กุฏอินทร์. (2562). คุณค่าความสำคัญและลักษณะเด่นทางสถาปัตยกรรมของอาคารหอประชุมใหญ่ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. บทความวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล. (Graduate Integrity: GI 10),  (10), 215-227.

นันท์นภัส ธีรไชยพัฒน์ และ เบญจมาศ กุฏอินทร์ (2561). แนวทางการออกแบบสิ่งอำนวยความสะดวกภายในเกสท์เฮ้าส์ที่เหมาะสมสำหรับนักท่องเที่ยวสูงอายุชาวไทยในตัวเมืองน่าน. หนังสือรวมบทความวิจัย การจัดสัมมนาวิชาการระดับชาติด้านคนพิการครั้งที่ 10 ประจำปี 2561, กรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์, 524-544.

ฐานิตา  หลินศรี, และเบญจมาศ  กุฏอินทร์. (2561). การประเมินอาคารหลังการเข้าใช้พื้นที่ด้านการใช้พลังงานในห้องสมุดมหาวิทยาลัยในกรุงเทพมหานคร: กรณีศึกษาภายในพื้นที่ห้องสมุดเพื่อการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน. บทความวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล. (Graduate Integrity: GI 9), (9), 169-181.

ธนพร  ปูรณวัฒนกุล, และเบญจมาศ  กุฏอินทร์. (2561). การประเมินสภาพแวดล้อมหลังการเข้าใช้ภายในการประเมินสภาพแวดล้อมหลังการเข้าใช้ภายใน. บทความวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล. (Graduate Integrity: GI 9), (9), 182-193.

เบญจมาศ  กุฏอินทร์. (2560). สถานพยาบาลที่เป็นมิตรต่อผู้สูงอายุ. การประชุมวิชาการประจำปี พ.ศ.2559สมาคมพฤฒาวิทยาและเวชศาสตร์ผู้สูงอายุไทย เรื่อง พฤฒาวิทยาและเวชศาสตร์ผู้สูงอายุสำหรับการดูแลผู้ป่วยสูงอายุขั้นต้น (Gerontology and geriatrics for primary care practice). ระหว่างวันที่ 15-17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560. โรงแรมนารายณ์ สีลม กรุงเทพมหานคร.

ธนวรรณ  พยัคฆ์ทัศน์, และเบญจมาศ  กุฏอินทร์. (2560). แนวทางการปรับปรุงสภาพแวดล้อมทางกายภาพส่วนจัดแสดงวัตถุและภาพถ่ายภายในพิพิธภัณฑ์สงครามโลกครั้งที่ 2 จังหวัดกาญจนบุรี. บทความวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล. (Graduate Integrity: GI 8), (8), 91-103.

นันท์นภัส  ธีรไชยพัฒน์, และเบญจมาศ  กุฏอินทร์. (2560). เกสท์เฮ้าส์สำหรับนักท่องเที่ยวสูงวัยยุคเบบี้บูมเมอร์ในตัวเมืองน่าน. บทความวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล. (Graduate Integrity: GI 8), (8), 104-115.

วารีนันท์  ระวีโชติพัฒน์, และเบญจมาศ  กุฏอินทร์. (2560). สภาพแวดล้อมการนวดไทยและสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุแพทย์แผนไทยในโรงพยาบาล จังหวัดนครปฐมและจังหวัดราชบุรี. บทความวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล. (Graduate Integrity: GI 8), (8), 116-129.

Kutintara, B. (2017). Age Friendly Environmental Features and Physical Barriers in Meditation Training Facilities. APRU Ageing in the Asia-Pacific Workshop 2017 For Junior Gerontologists. November 9-11, University of Tokyo. Tokyo, Japan.

Kutintara, B. (2016). Shopping malls in Bangkok: Age friendly environmental features and physical barriers. International Federation on Ageing 13th Global Conference. June 21-23, Brisbane, Australia.

สุทธิปรีชา จริยงามวงศ์ และ เบญจมาศ กุฏอินทร์. (2558). แนวทางการศึกษาความต้องการกิจกรรมเพิ่มเติมเพื่อส่งเสริมให้ห้องสมุดมีชีวิต ภายในห้องสมุดประชาชน จังหวัดลำปาง. การจัดประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ครั้งที่ 4 (The 4th STOU Graduate Research Conference. , P-SS 037, 1-14.

Jitramontree, N., Chatchaisucha, S., Thaweeboon, T., Kutintara, B., & Intanasak, S. (2015). Action Research Development of a Fall Prevention Program for Thai Community-dwelling Older Persons. Pacific Rim Int J Nurs Re., 19(1), 69-79.

Kutintara B1, Somboon P, Buasri V, Srettananurak M, Jedeeyod P, Pornpratoom K, & Iam-cham V. (2013). Design and evaluation of a kitchen for persons with visual impairments. Disability and Rehabilitation: Assistive Technology, 8(2), 136-139.

เรวดี จินดาดำ, และเบญจมาศ กุฏอินทร์. (2555).   ป้ายและสื่อที่ช่วยในการสื่อสารระหว่างคนขายที่พิการทางการได้ยินกับลูกค้า. วารสารวิชาการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล. 14(12), 56-68.

พรพรรณ์ สมบูรณ์, เบญจมาศ กุฏอินทร์, ณุชนาฏ โต๊ะดี, และเนตรนภา อนุประเสริฐ. (2554). การประเมินผลการวิจัยและพัฒนาภายใต้โครงการความร่วมมือระหว่างวิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดลกับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. วารสารวิทยาลัยราชสุดา, 7(10), 94-110.

สุพัตรา ซ้วนลิ่ม, และเบญจมาศ กุฏอินทร์. (2554). สภาพแวดล้อมภายในและสิ่งอำนวยความสะดวกที่เหมาะสมสำหรับห้องกายภาพบำบัดของโรงพยาบาลและศูนย์การแพทย์. บทความวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล. (Graduate Integrity: GI 2), (2), 41-48.

อดิเทพ นิ่มแสวง, และเบญจมาศ กุฏอินทร์. (2554). ลักษณะสถาปัตยกรรมภายในห้องสมุดมีชีวิตที่เอื้อต่อคนพิการ. บทความวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล. (Graduate Integrity: GI 2), (2), 30-40.

เกชานนท์ พานคง, และเบญจมาศ กุฏอินทร์. (2552). การประเมินหลังการเข้าใช้อาคารเรียนสาขาสถาปัตยกรรมภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. วารสารสภาปัตยกรรมภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. (2), 22-34.

รวี โชว์ทะเล, และเบญจมาศ กุฏอินทร์. (2552). การประเมินหลังการเข้าใช้อาคาร 4 ชั้น คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. วารสารสภาปัตยกรรมภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. (2), 35-43.

เบญจมาศ กุฏอินทร์, วิรชฎา บัวศรี, พรพรรณ์ สมบูรณ์, เมทินี เศรษฐนานุรักษ์, ปิยะนุช เจดีย์ยอด, วีรยา เอี่ยมฉ่ำ, กิตติกานต์ พรประทุม, หรรษธน สีรวิสุทธิ์, นุจรี มหามงคล, พฤทธิ์ พรหมเต็ม, และเดชณรงค์ แอบจันทึก. (2550).   เรียนรู้จากคนพิการเพื่อพัฒนาครัวตัวอย่าง.  การประชุมวิชาการนานาชาติ สารัตถะวิพากษ์ International Symposium on Architecture & Culture in Suvarnabhumi 16-17 August 2007, คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพฯ . 88-96.

กมลพรรณ ถวิลหวัง, ชุมพร มูรพันธุ์, และเบญจมาศ กุฏอินทร์. (2563). การประเมินอาคารหลังการเข้าใช้พิพิธภัณฑ์เมืองอุดรธานี: การรับรู้แนวความคิดในการออกแบบนิทรรศการ. บทความวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล. (Graduate Integrity: GI 11), (11), 159-171.

ชนัมภา เดชนิติรัตน์, ชุมพร มูรพันธุ์, และเบญจมาศ กุฏอินทร์. (2563). การประเมินสภาพแวดล้อมภายหลังการเข้าใช้บ้านพักอาศัยในชุมชนการเคหะแห่งชาติ จังหวัดปทุมธานี: การรับรู้ความแออัดและความเครียดของผู้อยู่อาศัย. บทความวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล. (Graduate Integrity: GI 11), (11), 145-158.

วีระพร ฤทธิ์บำรุง, คณิน หุตานุวัตร, และเบญจมาศ กุฏอินทร์. (2563). การศึกษาสภาพแวดล้อมทางกายภาพของโรงพยาบาลชุมชนจังหวัดนนทบุรี ตามแนวคิตการออกแบบเพื่อทุกคน. บทความวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล. (Graduate Integrity: GI 11), (11), 133-144.

ผลงานสร้างสรรค์อื่นๆ
–  Design and evaluation of a kitchen for persons with visual impairments, 2013
–  การวิจัยเชิงปฏิบัติการพัฒนาโปรแกรมป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุไทยที่อาศัยอยู่ในชุมขน, 2558
–  Shopping malls in Bangkok : Age friendly environmental features and physical barriers, 2016

รายวิชาที่สอน
– รายวิชากลุ่มวิชาพื้นฐานทางวิชาชีพ
– รายวิชากลุ่มวิชาหลัก
– รายวิชากลุ่มวิชาเทคโนโลยี
– รายวิชากลุ่มวิชาสนับสนุน
– รายวิชาหมวดวิชาเลือกเสรี