0063

ผศ.ดร.พิยะรัตน์ นันทะ

ภาระงานมอบหมายเพิ่มเติมของผู้ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ

วุฒิการศึกษา :

–  สถ.บ.เกียรตินิยม อันดับ1 (สถาปัตยกรรมภายใน) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง, 2534.
–  M.A. (Interior Design  and Facilities Management) Michigan State University, USA. 2542.
–  M.Sc. (Architecture), The University of Michigan, USA., 2546.
–  Ph.D. in Architecture. The University of Michigan, USA.,  2552.

ความเชี่ยวชาญ
การออกแบบทางสถาปัตยกรรมภายใน (Interior Architecture Design)
การออกแบบและจัดทำโปรแกรมสำนักงานและสำนักงานขนาดใหญ่ (Interior Architectural Design for Office Building)
จิตวิทยาสภาพแวดล้อม (Environmental Psychology)
ความคิดสร้างสรรค์และแนวความคิดในการออกแบบ (Creative Thinking Design Concept)

สาขาวิจัยที่มีความชำนาญพิเศษ (แตกต่างจากวุฒิการศึกษา)

ออกแบบและจัดทำโปรแกรมสำนักงานและสำนักงานขนาดใหญ่, จิตวิทยาสภาพแวดล้อม, ความคิดสร้างสรรค์และแนวความคิดในการออกแบบ

งานวิจัย

พีรกานต์ รุนมณีรัตน์ และ พิยะรัตน์ นันทะ (2564). แนวความคิดการเลือกใช้วัสดุในการออกแบบอาคารขนาดเล็กเพื่อรองรับแผ่นดินไหวและส่งเสริมความยั่งยืน: กรณีศึกษา อาคารโรงเรียนพอดี พอดี 3 โครงการ ในจังหวัดเชียงราย. Built Environment Research Associates 2021 Conference Proceeding BERAC2021, 267-294.

พิยะรัตน์ นันทะ. (2563). Developing & Understanding Sustainable Culture in Academic Setting. (อยู่ระหว่างดำเนินการ) กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.

พิยะรัตน์  นันทะ. (2558). ประเมินผลการดำเนินงานการจัดกิจกรรม ตลาดคลองผดุงกรุงเกษม (อ.ต.ก.สุวรรณภูมิ). (รายงานผลการวิจัย) กรุงเทพฯ: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.

พิยะรัตน์  นันทะ. (2550).  ภาพสะท้อนความสัมพันธ์ระหว่างบ้านและสตรี จากวรรณกรรมพื้นบ้าน, (รายงานผลการวิจัย) กรุงเทพฯ: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.

ตำราเรียน

พิยะรัตน์  นันทะ. (2560). จิตวิทยาสภาพแวดล้อม: พลวัตความสัมพันธ์มนุษย์และสภาพแวดล้อมกายภาพ, กรุงเทพฯ: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.

บทความวิชาการ

ณัฐพร เชียงสาย และ พิยะรัตน์ นันทะ. (2564). รูปแบบการจัดกลุ่มพื้นที่ใช้สอยในงานสถาปัตยกรรมที่ออกแบบโดยสถาปนิก 122 ญี่ปุ่นและที่ก่อสร้างในประเทศไทยในช่วงยุค ค.ศ.1970-1989. บทความวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล. (Graduate Integrity: GI 12), (12), 122-137.

อนัญญา ลือพร้อมชัย และ พิยะรัตน์ นันทะ. (2562). ตำนานเมืองเรื่องเล่าในสถาบันอุดศึกษา: ภาพสะท้อนประสบการณืร่วมของนักศึกษาที่มีต่อพื้นที่ในมหาวิทยาลัย. โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2562 10th Built Environment Research Associates Conference, BERAC2019, 652-658.

อาภากร ฮ้อแสงชัย และ พิยะรัตน์ นันทะ. (2562). องค์ประกอบสภาพแวดล้อมภายในและความหวาดกลัวอาชญากรรม กรณีศึกษา: อาคารจอดรถเท็กซัสสุกี้ย่านเยาวราช กรุงเทพมหานคร. โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2562 10th Built Environment Research Associates Conference, BERAC2019, 659-664.

วรกันต์ เพียรโรจน์, พิยะรัตน์  นันทะ, และเบญจมาศ กุฏอินทร์. (2562). คุณค่าความสำคัญและลักษณะเด่นทางสถาปัตยกรรมของอาคารหอประชุมใหญ่ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. บทความวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล. (Graduate Integrity: GI 10),  (10), 215-227.

อาทิตย์  ฉัตรโพธิ์ทอง, และพิยะรัตน์  นันทะ. (2561). การศึกษาสภาพแวดล้อมทางกายภาพและการบริหารจัดการในพื้นที่ทำงานร่วมกับแรงสนับสนุนทางสังคม กรณีศึกษา: เดอะเวิร์คลอฟท์. บทความวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล. (Graduate Integrity: GI 9),  (9), 39-48.

พรธิดา  เดี่ยวตระกูล, คณิน หุตานุวัตร, และพิยะรัตน์  นันทะ. (2560). การศึกษาความสัมพันธ์ของสภาพแวดล้อมกายภาพกับปฏิสัมพันธ์ทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการดำรงชีพหลังการพลัดถิ่น. โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2560 Built Environment Research Associates 2017, BERAC 8, 456-464.

รวิณัฐ  ตันวิสุทธิ์,  พิยะรัตน์  นันทะ, และรวิช ควรประเสริฐ. (2560).  การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสภาวะความสบายกับกระบวนการคิดซับซ้อนของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา. โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2560 Built Environment Research Associates 2017, BERAC 8, 26-33.

ศิริศักดิ์  ชูเกษร, และพิยะรัตน์  นันทะ. (2560).  การศึกษาเปรียบเทียบเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินความแท้จริงขององค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมชุมชนตลาดเก่าริมน้ำ. โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2560 Built Environment Research Associates 2017, BERAC 8, 20-25.

ธิติสุดา ชีโพธิ์, พิยะรัตน์  นันทะ, และเอกพล สิระชัยนันท์.  (2560). การศึกษาการรับรู้อัตลักษณ์องค์กรเพื่อแนวทางการออกแบบสภาพแวดล้อมภายใน: กรณีศึกษา ห้างสรรพสินค้า คลังพลาซา สาขาอัษฎางค์ จังหวัดนครราชสีมา.  วารสาร สิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างวินิจฉัย (Built Environment Inquiry – BEI). 16(2), 21-30.

Tatiyaphan, N. & Nanta, P. (2016).  Relationship between Appraisal of Visual Environment and Perceived Congruence of Background Music in Department store. Built Environment Research Associates Conference 2016, BERAC 7, 604-610.

Silapakit, P., & Nanta, P. (2015). Correspondence Between Color and Scent of Coffee in Children Store. Built Environment Research Associates Conference 2015, BERAC 6, 262-269.

Tonmitr, N., Ogura, N., & Nanta, P. (2012) “Design Contribution of Two Major Nation wide low-Income Housing Approaches in Thailand” The 4th KKU Engineering Conference 2012 (KKU-IENCE 2012) During Together towards ASEAN Economic Community Thailand, May 10-12, 2012

Tonmitr, N., & Nanta, P. (2012). Architectural Educational –image Approach to the Scrutiny of Space Configuration on the Traditional Thailand-Japan Dwelling: Asian Coalition Habitat Contributions. Conference Proceedings.  The 3rd Thailand-Japan Academic Conference 2012.

Nanta, P. (2011). The Impact of Social Change on the Transformational Dwelling of Central Thailand. Proceeding from the Asian conference on Asian Studies 2011., Japan.

โครงการ

พิยะรัตน์ นันทะ (หัวหน้าโครงการ). 2563-2566. โครงการเสริมสร้างประสบการณ์จากการเรียนรู้เชิงบูรณาการ, จังหวัดเชียงราย. คณะสถาปัตยกรรม ศิลปะและการออกแบบ สจล. กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

พิยะรัตน์ นันทะ (หัวหน้าโครงการ). 2565. โครงการประชุมวิชาการนานาชาติ The 6th International Conferenceon Research Methodology for Built Environment and Engineering 2023 (ICRMBEE2023) ร่วมกับ Universiti Teknologi MARA (UiTM)”. คณะสถาปัตยกรรม ศิลปะและการออกแบบ สจล. กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

หัวหน้าโครงการ (2562). โครงการเสริมสร้างประสบการณ์จากการเรียนรู้เชิงบูรณาการ. ระหว่างวันที่ 8-13 กุมภาพันธ์ 2562. ณ จังหวัดเชียงราย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.

หัวหน้าโครงการ (2561). โครงการเสริมสร้างประสบการณ์จากการเรียนรู้เชิงบูรณาการ. ระหว่างวันที่ 23-25 มีนาคม 2561. ณ จังหวัดเพชรบูรณ์. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.

หัวหน้าโครงการ (2561). โครงการจัดทำชุดวิดีทัศน์เพื่อเผยแพร่และประชาสัมพันธ์องค์ความรู้ด้านสถาปัตยกรรมภายในสู่สาธารณชน. ระหว่างวันที่ 23-25 สิงหาคม 2561. กรุงเทพฯ: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.

ที่ปรึกษา (2560). ที่ปรึกษาออกแบบตกแต่งภายในอาคารที่ทำการกระทรวงการพัฒนาสังคสและความมั่นคงของมนุษย์. ทำสัญญา 26 กุมภาพันธ์ 2560. โดย กระทรวงการพัฒนาสังคสและความมั่นคงของมนุษย์.

หัวหน้าโครงการ (2558). จัดทำแผนแม่บทและแนวทางการบริหารจัดการศูนย์การเรียนรู้ประชาคมชาติพันธุ์. ทำสัญญา 29 พ.ค.2558. โดย กรมพัฒนาสังคมและสวัดิการ.

หัวหน้าโครงการ (2558). โครงการประเมินผลการดำเนินงานการจัดกิจกรรม ตลาดคลองผดุงกรุงเกษม (อ.ต.ก.สุวรรณภูมิ). ทำสัญญา 31 ส.ค.2558. โดย องค์การตลาดเพื่อการเกษตร.

หัวหน้าโครงการ (2563) โครงการเสริมสร้างประสบการณ์จากการเรียนรู้เชิงบูราณาการ ระหว่างสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง และ University of the Ryukyus ประเทศญี่ปุ่น ระหว่างวันที่ 7-12 มกราคม 2563 ณ โรงเรียนองค์การบริหารส่วนตำบลทรายขาว (ท่าฮ่อ) ตำบลทรายขาว อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย

หัวหน้าโครงการ (2563) โครงการสัมมนาและเสวนาวิชาการ การจัดการ และพัฒนาสภาพแวดล้อมกายภาพสู่ความเป็นมหาวิทยาลัยยั่งยืน ระหว่างสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง และ University of Michigan ประเทศสหรัฐอเมริกา วันที่ 22 มกราคม 2563 ณ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และ โรงแรม Bliston

โครงการสร้างความร่วมมือด้านวิชาการ การเรียนการสอนและวิจัยด้านสถาปัตยกรรมและการออกแบบ
วันที่ 29 กรกฎาคม ถึง 3 สิงหาคม 2562 ทีมคณาจารย์และนักศึกษา โดยการนำของ ผศ.ดร.พิยะรัตน์ นันทะ รศ.สุพัฒน์ บุญยฤทธิกิจ ผศ.ดร.ญาณินทร์ รักวงศ์วาน และดร.รวิช ควรประเสริฐ เดินทางเข้าร่วมกิจกรรม Workshop กับ the University of the Ryuku โอกินาว่า ประเทศญี่ปุ่น

ผลงานสร้างสรรค์อื่นๆ

–  ภาพสะท้อนความสัมพันธ์ระหว่างบ้านและสตรี จากวรรณกรรมพื้นบ้าน, 2550

รายวิชาที่สอน
–  รายวิชากลุ่มวิชาพื้นฐานทางวิชาชีพ
–  รายวิชากลุ่มวิชาหลัก
–  รายวิชากลุ่มวิชาเทคโนโลยี
–  รายวิชากลุ่มวิชาสนับสนุน
–  รายวิชาหมวดวิชาเลือกเสรี