20210819-002-ed

รศ.พรพรรณ ชินณพงษ์

วุฒิการศึกษา :
  • Arch. Texas A & M University, USA., 2539
  • MURP. University of Hawaii at Manoa, USA., 2543
  • สถ.บ. (สถาปัตยกรรม) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง, 2535

ความเชี่ยวชาญ
การออกแบบทางสถาปัตยกรรมหลัก (Architectural Design)
การออกแบบผังเมืองและชุมชน (Urban Design and Environmental Planning)
การศึกษาด้านเมืองและสังคม (Urban Studies and Social Sciences)

ความเชี่ยวชาญวิชาชีพ
การออกแบบสถาปัตยกรรม (Architectural Design)

ความสนใจ / อื่นๆ
การถ่ายภาพและตกแต่งภาพ

 

หนังสือ/บทความวิชาการ:
ตำรา
-พรพรรณ ชินณพงษ์. (2564). การวางผังบริเวณกับการวิเคราะห์ที่ตั้งโครงการ (E-book). กรุงเทพฯ: บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน).
-พรพรรณ ชินณพงษ์. (2550). การวางผังบริเวณกับการวิเคราะห์ที่ตั้งโครงการ. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. กรุงเทพฯ: บริษัท มิสเตอร์ก๊อปปี้ (ประเทศไทย) จำกัด.

งานวิจัย/งานบริการวิชาการ/งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม/บทความทางวิชาการ
โครงการวิจัย
-พรพรรณ ชินณพงษ์. (2564). สนามหลวงเมื่อล้อมรั้ว: การศึกษาพฤติกรรมการใช้งานสนามหลวงในฐานะที่เป็นพื้นที่ประชาคมเมือง (รายงานวิจัย). กรุงเทพฯ: คณะสถาปัตยกรรม ศิลปะและการออกแบบ, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
-พรพรรณ ชินณพงษ์. (2554). การออกแบบสภาพแวดล้อมเพื่อการเข้าถึงของคนตาบอด (รายงานวิจัย). กรุงเทพฯ: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
-พรพรรณ ชินณพงษ์. (2548). โครงการขนาดใหญ่กับการพัฒนาเมืองในยุคโลกาภิวัตน์: กรณีกรุงเทพมหานคร(โลก) (รายงานวิจัย). กรุงเทพฯ: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
-พรพรรณ ชินณพงษ์. (2546). สนามหลวง: กรณีศึกษาพื้นที่ประชาคมเมืองในกรุงเทพฯ (รายงานวิจัย). กรุงเทพฯ: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
บทความ
-พรพรรณ ชินณพงษ์. (2554). “ทัศนคติของคนตาบอดต่อการเข้าถึงสภาพแวดล้อม,” วารสารวิจัยและสาระสถาปัตยกรรม/การผังเมือง (JARS). คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 7(2), หน้า 141-157.
-พรพรรณ ชินณพงษ์. (2556). “DE+CONSTRUCTION=?” ใน นพดล ลิ้มวัฒนะกูร (บรรณาธิการ) แนวคิดทางสถาปัตยกรรมในศตวรรษที่ 20, เล่ม 1, สำนักพิมพ์คอมม่อนบุ๊คส, หน้า 107-117.
-พรพรรณ ชินณพงษ์. (2564). “สนามหลวงเมื่อล้อมรั้วกับบทบาทสำคัญในฐานะที่เป็นพื้นที่ประชาคมเมือง,” วารสารวิจัยและสาระสถาปัตยกรรม/การผังเมือง (JARS). คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 18(2), หน้า171-194.
-พรพรรณ บุญชื่น. (2546). “สนามหลวง: จากลานประวัติศาสตร์สู่ลานประชาคมเมือง,” บทความวิชาการนำเสนอต่อที่ประชุมวิชาการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ครั้งที่ 1: ฮอมภูมิ, วันที่ 25 – 28 มีนาคม.
-พรพรรณ บุญชื่น. (2542). “การออกแบบสภาพแวดล้อมเพื่อการเข้าถึงของผู้พิการทางสายตา,” วารสารสถาปัตยกรรมศาสตร์ , สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง, ฉบับที่ 1, 2542, หน้า 49-58.
-Boonchuen P. (2002). “Globalisation and Urban Design: Transformations of Civic Space in Bangkok,” IDPR Journal, 24(4).
-Boonchuen, P. and Ho, K.C. (2006). “Bangkok as a Capital and Emergent World City,” in K.C. Ho and Hsin-Huang Michael Hsiao (eds.) Capital Cities in Asia-Pacific: Primacy and Diversity, Taipei: Academia Sinica, p.119-135.
-Chinnapong, P. (2008). “Bangkok’s Sanam Luang (The Royal Ground): From a historic plaza to a civic space,” in Mike Douglass, K.C. Ho and Giok Ling Ooi (eds.) Globalization, the City and Civil Society in Pacific Asia, London: Routledge, p. 254-267.
-Douglass, M. and Boonchuen, P. (2003). “Bangkok – Cosmopolis on the Edge,” paper presented at The International Studies Association Convention, Portland, Oregon, Feb 25 – Mar 1.
-Douglass, M. and Boonchuen, P. (2006). “Bangkok: Intentional World City”, in M. Mark Amen, Kenvin Archer, and M. Martin Bosman (eds.) Relocating Global Cities: From the Center to the Margins, Lanham: Rowman & Littlefield Publishers, INC., p.75-100.
-Ho, K.C. and Chinnapong P. (2013). “Conserving Bangkok’s premier Heritage District. Ambitious plans and ambiguous rights” in Coeli Barry (ed.) Rights to Culture: Heritage, Language and Community. Chiang Mai: Silkworm Books, p.59-83.

วิชาที่สอน
– 02216105 ออกแบบสถาปัตยกรรม 4
– 02216106 ออกแบบสถาปัตยกรรม 5
– 02216410 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและที่ตั้งโครงการ
– 02216407 ผังเมืองเบื้องต้น
– 02216109 เตรียมวิทยานิพนธ์
– 02216110 วิทยานิพนธ์ทางสถาปัตยกรรม