0012

รศ.ดร.ชุมพร มูรพันธุ์

วุฒิการศึกษา :

– สถ.บ. (สถาปัตยกรรมภายใน) / สจล., 2541
– สถ.ม. (สถาปัตยกรรมภายใน) / สจล., 2546
– Ph.D. in Environmental Behavior and Societies / Sydney., 2554

 

ความเชี่ยวชาญ

การออกแบบทางสถาปัตยกรรมภายใน (Interior Architecture Design)
Environment and Behavior, Environmental Psychology
Post Occupancy Evaluation
Shopping Behavior and Museum Study
Energy and Green Architecture
สถาปัตยกรรมไทยและสถาปัตยกรรมภายในไทย (Thai Architecture and Interior Thai Architecture)
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น (Vernacular Architecture)
การเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative data collection)

 

สาขาวิจัยที่มีความชำนาญพิเศษ (แตกต่างจากวุฒิการศึกษา)

Environment and Behavior, Environmental Psychology, Post Occupancy   Evaluation, Shopping Behavior and Museum Study, Energy and Green Architecture, สถาปัตยกรรมไทยและสถาปัตยกรรมภายในไทย สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น

 

งานวิจัย

วีระยุต ขุ้ยศร และ ชุมพร มูรพันธุ์. (2564). การศึกษาโครงสร้างและลวดลายของธรรมาสน์ กรณีศึกษาธรรมาสน์วัดศาลาปูนวรวิหาร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. (อยู่ระหว่างดำเนินการ) กรุงเทพฯ: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.

ชุมพร มูรพันธุ์. (2564). องค์ประกอบด้านสถาปัตยกรรมภายในของวิหารหรืออุโบสถในสมัยสุโขทัย ล้านนา อยุธยา และรัตนโกสินทร์ ที่ส่งผลต่อความศรัทธาและความประทับใจ. (อยู่ระหว่างดำเนินการ) กรุงเทพฯ: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.

วีระยุต ขุ้ยศร และ ชุมพร มูรพันธุ์. (2563). การศึกษาโครงสร้างและลวดลายของธรรมาสน์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สามมิติ กรณีศึกษาธรรมาสน์วัดครุฑธาราม. (อยู่ระหว่างดำเนินการ) กรุงเทพฯ: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.

ชุมพร มูรพันธุ์, ธนารักษ์ จันทรประสิทธิ์, นุชนภางค์ แก้วนิล, วีระยุต ขุ้ยศร, ปวิณ รุจิเกียรติกำจร, วัชราธร เพ็ญศศิธร และ ธิติพันธุ์ ตริตระการ (2563) แนวทางการออกแบบพื้นที่เรียนรู้ที่ส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 กรณีศึกษาอาคารเรียนรวมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯและอาคารสำนักหอสมุดกลาง. สัญญาเลขที่ KREF056320 กองทุนวิจัยสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.

ทรงชม  จุลาสัย, ประสิทธิ์  สุไลมาน,  ชาติ  ภาสวร, ชุมพร  มูรพันธุ์, ถิรายุ  ชุมสาย ณ อยุธยา, และชาลี  มธุรการ. (2559). ลักษณะพึงประสงค์ของบัณฑิตหลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต (สถาปัตยกรรมภายใน).(รายงานผลการวิจัย) กรุงเทพฯ: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.

ชุมพร มูรพันธุ์, (2556). การศึกษาอิทธิพลของแสงสว่างที่มีผลต่อความรู้สึกด้านอารมณ์และประสิทธิภาพการทำงาน. (รายงานผลการวิจัย) กรุงเทพฯ: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.

ชุมพร มูรพันธุ์, (2555). การศึกษาผลกระทบจากรูปแบบของผังพื้นและระดับการมองเห็นต่อพฤติกรรมการเข้าชมพิพิธภัณฑ์. (รายงานผลการวิจัย) กรุงเทพฯ: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.

 

ตำราเรียน

ชุมพร มูรพันธุ์. (2565). 02236229 การออกแบบสถาปัตยกรรมไทยและสถาปัตยกรรมภายในไทย. กรุงเทพฯ: คณะสถาปัตยกรรม ศิลปะ และการออกแบบ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.

ชุมพร มูรพันธุ์. (2565). การวิจัยเชิงปริมาณเพื่อการออกแบบสภาพแวดล้อม (Quantitative Research for Environmental Design). กรุงเทพฯ: ทริปเพิ้ลกรุ๊ป.

ชุมพร มูรพันธุ์, (2561). 02237713 การวิจัยเชิงปริมาณด้านสถาปัตยกรรมภายใน QUANTITATIVE RESEARCH FOR INTERIOR ARCHITECTURE. กรุงเทพฯ: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.

ชุมพร มูรพันธุ์. (2556). 02236206 สถาปัตยกรรมภายใน 6. กรุงเทพฯ: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.

 

บทความวิชาการ

Chanumpa Dechnitirat, Nuchnapang Keonil, & Chumporn Moorapun. (2023). Comparing customer’s perception and affective response towards actual retail store environments and virtual store environment: Application of S-O-R model. The 6th International Conference on Research Methodology for Built Environment and Engineering 2023 (ICRMBEE2023), 28th February – 2nd. March 2023, Bangkok, Thailand.

พิสิษฐ์ เบะประโคน และ ชุมพร มูรพันธุ์. (2565). ปัจจัยที่ส่งผลต่อปฏิสัมพันธ์การทำงานในสำนักงานออกแบบ กรณีศึกษา: บริษัทไฮโปธีสิส จำกัด. บทความวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษาครั้งที่ 13 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล. (Graduate Integrity: GI 13), (13), 171-182.

บุญลักษณ์ สุประดิษฐ และ ชุมพร มูรพันธุ์. (2565). ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยทางสังคม และปัจจัยทางกายภาพ ส่งผลต่อพฤติกรรมการใช้บริการศูนย์การค้าไลฟ์สไตล์สำหรับสุนัข. บทความวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษาครั้งที่ 13 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล. (Graduate Integrity: GI 13), (13), 183-197.

ธนพล ลิ้มทัตธนกุล และชุมพร มูรพันธุ์. (2564, 28 มิถุนายน). รูปแบบการเรียนการสอน และการจัดวางผังพื้นที่ห้องเรียนที่สอดคล้องกับรูปแบบการเรียนรู้ของผู้เรียน กรณีศึกษา: สาขาออกแบบตกแต่งภายใน คณะศิลปวิจิตร สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลปะ.Built Environment Research Associates Conference, 2021 (BERAC2021) Room 4. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ประชา ขันทอง และชุมพร มูรพันธุ์. (2564, 28 มิถุนายน). องค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมของอุโบสถ/วิหารล้านนาแบบไทยประเพณีแบบไทยร่วมสมัยและแบบไทยสมัยนิยมที่ส่งผลต่อความประทับใจและความศรัทธา. Built Environment Research Associates Conference, 2021 (BERAC2021) Room 5. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

วสันต์ ตาไวไธสง และชุมพร มูรพันธุ์. (2564, 28 มิถุนายน). องค์ประกอบของการออกแบบบ้านจัดสรรต่อการใช้ชีวิตที่ยั่งยืน ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกซื้อบ้านจัดสรรของกลุ่มผู้บริโภคสีเขียวในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร. Built Environment Research Associates Conference, 2021 (BERAC2021) Room 6. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

Moorapun, C., Bunyarittikit, S., Pornchaloempong, P., & Rakmae, S. (2020). Mobile food processing plant design project for fruit processing. Food Focus Thailand: Industry-Focused Magazine for Food & Beverage Professionals, 17, 32-35.

จตุพล  ทรัพย์ฤทธา, และชุมพร  มูรพันธุ์. (2561). บรรยากาศของแสงและสีในร้านจำหน่ายไวน์ที่ส่งผลต่อการตอบสนองด้านอารมณ์ในการซื้อสำหรับร้านจำหน่ายไวน์. โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2560 Built Environment Research Associates 2018, BERAC 9, 373-379.

ชัชภา  ไชยพรม, และชุมพร  มูรพันธุ์. (2561). ผังพื้นและเทคนิคการจัดแสดงที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการเข้าชมสำหรับเด็กภายในอาคารวิทยาศาสตร์ท้องฟ้าจำลอง กรุงเทพมหานคร. โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2560 Built Environment Research Associates 2018, BERAC 9, 395-401.

อาภัสรา  เทียมศิริ, และชุมพร  มูรพันธุ์. (2561). อิทธิพลของปัจจัยการออกแบบหน้าต่างแสดงสินค้าที่มีผลต่อความประทับใจและเอกลักษณ์ของร้น B2S (บีทูเอส). โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2560 Built Environment Research Associates 2018, BERAC 9, 380-387.

อธิชา  เทศขำ, และชุมพร  มูรพันธุ์. (2561). แนวทางการออกแบบห้องเรียนห้องซ้อมภายในโรงเรียนดุริยางค์ทหาร. โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2560 Built Environment Research Associates 2018, BERAC 9, 402-412

Moorapun, C. (2018). Aspects predicting perception of interior space in Thai traditional architecture. The International on Social Sciences and Management (ISSSM 2018), February 6-8, JAPAN.

Moorapun, C. (2018). The role of interior design Elements on Affective Response in Thai Religious Buildings. The 4th International Conference on Education, Psychology and Society (ICEPS 2018). July 10-12, JAPAN.

Somoon, K., & Moorapun, C. (2017). The evaluation of cultural differences on the identity of the window display: the case study of the perception of British and Thai consumers. Asian Social Science. 13(11), 71-82.

ชุมพร  มูรพันธุ์. (2560). รับแขก. ใน ภคบุตร ชาญสุวิทยานันท์ (บ.ก.), ลมหายใจสุดท้าย สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นในเมืองเชียงตุง เมืองลา และเมืองม้า (น.126-135). กรุงเทพฯ: บริษัททริปเพิ้ลกรุ๊ป จำกัด.

พันธุ์แก้ว คูห์รัตนพิศาล, และชุมพร มูรพันธุ์. (2559). รูปแบบการจัดองค์ประกอบเชิงพื้นที่ของผังพื้นห้องชุดพักอาศัยในคอนโดมิเนียมตามแนวรถไฟฟ้าบริเวณพื้นที่เมืองชั้นในเขตกรุงเทพมหานคร. โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2559 Built Environment Research Associates 2016, BERAC 7, 524-532.

Somoon, K., & Moorapun, C. (2016). The Roles of Aesthetic and Cultural Perception Affected by Window Display of Thai crafts products to Increase Purchasing Intention. Paper presented at the AMER International Conference on Quality of Life, Medan, Indonesia. Procedia – Social and Behavioral Sciences   234, 55-63.

Somoon, K., & Moorapun, C. (2016). Window Display Design of Thai Craft Product Affecting Perceptions of Thai and Foreign Tourists. International Journal of Social, Behavioral, Educational, Economic, Business and Industrial Engineering. 10(1), 364-368.

ณัชจารีย์กร สวัสดิ์มงคลกุล และชุมพร มูรพันธุ์. (2558). การรับรู้คุณภาพอากาศภายในอาคารสาธารณะ. Veridian E-Journal, Silpakorn University. 8(2), 1583-1594.

สุปรีดิ์ บุญฤทธิ์, และชุมพร มูรพันธุ์. (2558). ปัจจัยสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ส่งผลต่อภาพลักษณ์แผนกผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาลราชวิถี. โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2558 Built Environment Research Associates 2015, BERAC 6, 215-222.

Chinda, K. & Moorapun, C. (2015). Cross-cultural Study for Packaging Design of Luxury Perfume. The International Journal of Designed Objects. 9(4), 17-31.

Kernsom, T., & Moorapun, C. (2015). Window Display Design of Large-Scale Department Stores as Determinant of Corporate Image and Positioning Strategies. The International Journal of Design Management and Professional Practice.  9(3), 35-43.

Sarath, S., & Moorapun, C. (2015). Comparisons of Perception of Identity for Thai Craft Souvenirs: A Cross-Cultural Study between Thai and Malaysian Customers. The International Journal of Designed Objects.  9(3), 19-32.

Tamthinthai, P., Sahachaisaeree, N., Hsu, P.S., & Moorapun, C. (2015). The Difference of Lighting Affects between Personal and Public Space: Lighting Condition Effects and Perception of Interior Function. The International Journal of Designed Objects. 8(2), 1-10

ชุมพร  มูรพันธุ์. (2556). แนวทางการออกแบบการจัดผังพื้นสำหรับนิทรรศการเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการค้นหาเป้าหมายในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ. วารสารวิชาการคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (62), 61-76.

Moorapun, C. (2013). The Design Guidelines for Floor-Plan Configuration to Increase Wayfinding Performance in National Museums. Academic Journal of Architecture. (62), 61-67.

Moorapun, C., and Moore G.T. (2009). Book Reviews of the Wayfinding Handbook: Information Design for Public Places in Architectural Science Review. Vol.52.4, 321-322.

Moorapun, C. (2008). Methods for Validating the Use of Virtual Simulation Generated from a Computer Game for Environment and Behavior Research, CAADRIA 2008. Proceedings of the 13rd International Conference on Computer Aided Architectural Design Research in Asia (pp.642-646). April 9-12, Chiang Mai, Thailand.

ชุมพร  มูรพันธุ์. (2549). สภาพแวดล้อมท้องถิ่นกับการออกแบบเมือง. วารสารสภาพแวดล้อมภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเก้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง, (2), 20-28.

กมลพรรณ ถวิลหวัง, ชุมพร มูรพันธุ์, และเบญจมาศ กุฏอินทร์. (2563). การประเมินอาคารหลังการเข้าใช้พิพิธภัณฑ์เมืองอุดรธานี: การรับรู้แนวความคิดในการออกแบบนิทรรศการ. บทความวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล. (Graduate Integrity: GI 11), (11), 159-171.

ชนัมภา เดชนิติรัตน์, ชุมพร มูรพันธุ์, และเบญจมาศ กุฏอินทร์. (2563). การประเมินสภาพแวดล้อมภายหลังการเข้าใช้บ้านพักอาศัยในชุมชนการเคหะแห่งชาติ จังหวัดปทุมธานี: การรับรู้ความแออัดและความเครียดของผู้อยู่อาศัย. บทความวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล. (Graduate Integrity: GI 11), (11), 145-158.

 

โครงการ

ชุมพร มูรพันธุ์ (หัวหน้าโครงการ). 2562-2566. โครงการเสวนาและนิทรรศการเพื่อเผยแพร่ผลงานวิทยานิพนธ์สำหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 5. คณะสถาปัตยกรรม ศิลปะและการออกแบบ สจล. กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

ชุมพร มูรพันธุ์ (ผู้ร่วมโครงการ), วีระยุต ขุ้ยศร, สรรพชัย พงษ์ศรี, ศักดา ทรงศรีวิสุทธิ์ และ ฐิติพรรณ เกินสม. (2563). โครงการปรับปรุงสำนักงาน ห้องประชุม และห้องปฏิบัติการ โรงพยาบาลทันตกรรมมหาจักรีสิรินธร. โดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม. กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.

 

ทุนการศึกษา และรางวัลที่ได้รับ

2008  Young CAADRIA Award
The Association for Computer-Aided Architectural Design Research in Asia (CAADRIA)

2007  Faculty of Architecture International Research Student Scholarship
awarded to an international student demonstrating exceptional research promise

 

วิชาที่สอน

–  รายวิชากลุ่มวิชาพื้นฐานทางวิชาชีพ
–  รายวิชากลุ่มวิชาหลัก
–  รายวิชากลุ่มวิชาเทคโนโลยี
–  รายวิชากลุ่มวิชาสนับสนุน
–  รายวิชาหมวดวิชาเลือกเสรี