20210819-001

ผศ.ดร.ญาณินทร์ รักวงศ์วาน

วุฒิการศึกษา :

–  สถ.บ. (สถาปัตยกรรมภายใน) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง, 2535.
–  บธ.บ. (การจัดการงานก่อสร้าง) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2547.
–  สถ.ม. (สถาปัตยกรรมภายใน) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง, 2544.
–  ปร.ด. (ประชากรศึกษา) มหาวิทยาลัยมหิดล, 2553.

ความเชี่ยวชาญ
การออกแบบทางสถาปัตยกรรมภายใน (Interior Architecture Design)
การจัดการงานก่อสร้าง (Construction Management)
สถาปัตยกรรมไทยและสถาปัตยกรรมภายในไทย (Thai Architecture and Interior Thai Architecture)
การออกแบบนิทรรศการ (Exhibition Design)
การจัดการมรดกทางวัฒนธรรม (Cultural Heritage Management)

สาขาวิจัยที่มีความชำนาญพิเศษ (แตกต่างจากวุฒิการศึกษา)

การจัดการงานก่อสร้าง, ตกแต่งไทย, การออกแบบนิทรรศการ, การจัดการมรดกทางวัฒนธรรม

งานวิจัย

พระมหาชุติภัค อภินนฺโท/แหมทอง, กมลาศ ภูวชนาธิพงศ์, ญาณินทร์ รักวงศ์วาน, และพุทธชาติ แผนสมบุญ. (2560). อัตลักษณ์กับการท่องเที่ยว: ศึกษาการนำอัตลักษณ์มาใช้กับการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของแหล่งมรดกโลกหลวงพระบาง ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. (รายงานผลการวิจัย) กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์.

ญาณินทร์  รักวงศ์วาน, ประพัทธ์พงศ์ อุปลา, อมร บุญต่อ และภัททิรา บุญญานนท์. (2559). การพัฒนาหลักสูตรสถาปัตยกรรม ศาสตรดุษฎีบัณฑิต (สหวิทยาการการวิจัยเพื่อการออกแบบ). (รายงานผลการวิจัย) กรุงเทพฯ: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.

ญาณินทร์  รักวงศ์วาน. (2557). การศึกษาเพื่อการพัฒนาและอนุรักษ์ อาคารกระแสสมัยใหม่ กรณีศึกษา อาคารในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน จังหวัดนครราชสีมา. (รายงานผลการวิจัย) กรุงเทพฯ: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.

ญาณินทร์  รักวงศ์วาน. (2556). วิจัยเชิงประเมินการใช้พื้นที่ประกอบการเชิงพาณิชย์ในอาคารผู้โดยสาร ณ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ. (รายงานผลการวิจัย) กรุงเทพฯ: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.

ตำราเรียน

ญาณินทร์ รักวงศ์วาน. (2565). เอกสารคำสอนวิชา วัฒนธรรมร่วมสมัย (Contemporary Culture). กรุงเทพฯ: คณะสถาปัตยกรรม ศิลปะและการออกแบบ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.

ญาณินทร์  รักวงศ์วาน. (2547). กายภาพเชิงกลเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.

 บทความวิชาการ

Doungjai Limsaksei, & Yanin Rugwongwan. (2023). Thai temple area: Facilities assessment for energency shelter use. The 6th International Conference on Research Methodology for Built Environment and Engineering 2023 (ICRMBEE2023), 28th February – 2nd. March 2023, Bangkok, Thailand.

Kitisak Techakanjanakit, & Yanin Rugwongwan. (2023). Exhibition floor-plan layout effects on wayfinding performance in history museums. The 6th International Conference on Research Methodology for Built Environment and Engineering 2023 (ICRMBEE2023), 28th February – 2nd. March 2023, Bangkok, Thailand.

ธนภรณ์ พาพาน และ ญาณินทร์ รักวงศ์วาน. (2565). การประเมินอาคารเพื่อการออกแบบนิทรรศการแบบปฏิสัมพันธ์ กรณีศึกษา: พิพิธภัณฑ์บ้านกุฎีจีน. บทความวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษาครั้ที่ 13 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล. (Graduate Integrity: GI 13), (13), 110-122.

ตฤณภัทร คณาวงศ์ และ ญาณินทร์ รักวงศ์วาน. (2565). การศึกษารูปแบบพื้นที่ครัวในบ้านพื้นถิ่นร่วมสมัยในอีสาน กรณีศึกษา: จังหวัดอุบลราชธานี. บทความวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษาครั้ที่ 13 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล. (Graduate Integrity: GI 13), (13), 123-134.

วรรณศิลป์ ภู่เด่นใส และ ญาณินทร์ รักวงศ์วาน. (2565). แนวทางการออกแบบสถานที่ผลิตเครื่องสำอางให้ได้มาตรฐาน ASEAN COSMETIC GMP กรณีศึกษา: บริษัท เอเวอร์แคร์ จำกัด. บทความวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษาครั้ที่ 13 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล. (Graduate Integrity: GI 13), (13), 135-143.

กรรณิการ์ ดีสันเทียะ และ ญาณินทร์ รักวงศ์วาน. (2565). การศึกษากลยุทธ์และวิธีการคำนวนราคากลางงานก่อสร้างสถาปัตยกรรมภายในภาครัฐของสถาปนิกและวิชาชีพที่เกี่ยวข้องในงานสถาปัตยกรรมภายใน. บทความวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษาครั้ที่ 13 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล. (Graduate Integrity: GI 13), (13), 198-208.

Suparaporn Tuannoi, Yanin Rugwongwan. (2020). Triple helix DNA model: Relationship in multicultural characteristic of three Southern borders of Thailand. Journal of Advances in Humanities and Social Sciences, 6(4). 130-137.

Suparaporn Tuannoi, Yanin Rugwongwan. (2021). The Story Design of Transmedia Storytelling in Museums for Multicultural Coexistence. Linguistica Antverpiensia, 2021. 1838-1849.

Natapon Anusorntharangkul, Yanin Rugwongwan. (2021). Using Inquiry-Based Learning to Explore Respect of Cultural Base Design: A Case Study in Amphawa Tourism Community, Thailand. Geo Journal of Tourism and Geosites. 34(1). 164-169.

Veerapol Suwankarjank, Yanin Rugwongwan. (2021). Design Thinking Model in Design Education for Thai Product Design Student. Review of International Geographical Education Online. 787-796.

Suparaporn Tuannoi & Yanin Rugwongwan (2020). The Transmedia Storytelling in Museums Model for Permanent Exhibition. The International Conference on Economics and Social Sciences (ICESS), Krabi, Thailand on 5 -6 April, 5-8.

ช่อทิพย์ สิงหมาตย์, และญาณินทร์  รักวงศ์วาน. (2562). แนวทางเพื่อการออกแบบสถาปัตยกรรมภายในส่วนพื้นที่กิจกรรมเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของสถานสงเคราะห์เด็กก่อนวัยเรียน กรณีศึกษาในพื้นที่ห้องพัฒนาการเด็กสถานสงเคราะห์บ้านอุดรธานี. บทความวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล. (Graduate Integrity: GI 10), (10), 265-274.

สุริณี กิ่งกาด, และญาณินทร์  รักวงศ์วาน. (2562). หน้าต่างกับความสัมพันธ์พื้นที่ภายในอาคารโคโลเนียลสไตล์ในภูเก็ต. บทความวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล. (Graduate Integrity: GI 10), (10), 240-250.

วรรณศิลป์ ธรรมรัตน์, และญาณินทร์  รักวงศ์วาน. (2562). กิจกรรมและความต้องการพื้นที่ใช้งานของโรงเรียนประถมสมบูรณ์หลวงพระบาง. บทความวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล. (Graduate Integrity: GI 10), (10), 228-239.

สายสุรี ยาง, และญาณินทร์  รักวงศ์วาน. (2562). การศึกษารูปแบบและโครงสีในงานจิตรกรรมฝาผนังสิม วัดเชียงทองเมืองหลวงพระบาง. บทความวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล. (Graduate Integrity: GI 10), (10), 195-204.

ไวสรี เพ็งศิริ, และญาณินทร์  รักวงศ์วาน. (2562). การศึกษาโครงสีไทยในการตกแต่งสถาปัตยกรรม กรณีศึกษา ฐานพระมหาเจดีย์สี่รัชกาลวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม. บทความวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล. (Graduate Integrity: GI 10), (10), 144-152.

นาตยา  พลซา, และญาณินทร์  รักวงศ์วาน. (2561). การศึกษาอัตลักษณ์ขององค์กรเพื่อการออกแบบสภาพแวดล้อมภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏเลย. วารสารสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างวินิจฉัย, (17), 133-148.

Rugwongwan, Y. (2018). The Cultural Heritage Architecture of Luang Prabang: The Role in Tourism and Preservation Sectors. The Asian Conference of cultural Studies 2018 (ACCS2018), May 31-June 3, Kobe, Japan. 113-120.

จิตราพร  ชัยเสริมวงศ์, และญาณินทร์  รักวงศ์วาน. (2561). แนวทางการออกแบบพื้นที่ประกอบอาหารภายในคอนโดมิเนียมสำหรับผู้ที่ต้องการประกอบอาหารไทย : กรณีศึกษาคอนโดประเภทซิตี้คอนโดภายในเขตกรุงเทพมหานคร. บทความวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล. (Graduate Integrity: GI 9), (9) : 49-60.

ธีรเชษฐ์  พงษ์นะเรศ, และญาณินทร์  รักวงศ์วาน. (2561). การศึกษาเปรียบเทียบการรับรู้แนวคิดในการออกแบบอาคาร ระหว่างกลุ่มนักศึกษาที่เรียนออกแบบ และกลุ่มนักศึกษาที่ไม่เรียนออกแบบ กรณีศึกษาอาคาร Student Activity Center. บทความวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล. (Graduate Integrity: GI 9), (9), 222-233.

พชรกุล  จังสกุล และญาณินทร์  รักวงศ์วาน. (2561). การตกแต่งภายในโรงแรมโดยแสดงอัตลักษณ์ทางศิลปวัฒนธรรมพื้นถิ่น.บทความวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล. (Graduate Integrity: GI 9), (9) : 14-25.

วิสิทธิ์ ประภากรแก้วรัตน์, และญาณินทร์  รักวงศ์วาน. (2561). การศึกษารูปแบบบผังพื้นทางสถาปัตยกรรมภายในทาวน์โฮมที่ตอบสนองวิถีชีวิต ผู้ที่อาศัยอยู่ในเขตอำเภอเมืองมหาสารคาม กรณีศึกษา โครงการ มงคล วิลเลจ. บทความวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล. (Graduate Integrity: GI 9), (9), 74-86.

ศุภโชค  พรมมณี, และญาณินทร์  รักวงศ์วาน. (2561). การศึกษาพฤติกรรมการประสานงานและพฤติกรรมการใช้กระดาษของสำนักงานออกบบ สำนักการโยธา เพื่อแนวทางออกแบบผังพื้นแนวคิดสำนักงานอิเล็กทรอนิกส์ (E-Office). บทความวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล. (Graduate Integrity: GI 9), (9), 207-221.

อนุกูล  ป้อมรักษา, และญาณินทร์  รักวงศ์วาน. (2561). ความต้องการพื้นที่ใช้งาน ของพื้นที่ทำงานร่วม (Coworking Space) ในประเทศไทย. บทความวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล. (Graduate Integrity: GI 9), (9), 61-73.

Rugwongwan, Y. (2018). The Cultural Heritage Architecture of Luang Prabang: The Role in Tourism and Preservation Factors. The Asian conference on Cultural Studies 2018. Official Conference Proceeding. pp. 113-120

Tharangkul, A., & Rugwongwan, Y. (2018). Interior Environmental Design Conveying Local Scio-Cultural Identity. The Asian conference on Cultural Studies 2018. Official Conference Proceeding. pp. 131-144

Kwangsawat K., & Rugwongwan, Y. (2017). The Difference Analysis of Carbon Footprint according to Life Cycle Assessment of Furniture Type: A Case Study of Table, Environment-Behavior Proceeding Journal Vol 2, No 5. March 2017

Nuttasit Somboonwit, Amon Boontore & Rugwongwan, Y. (2017).  Obstacles to the Automation of Building Performance Simulation: Adaptive Building Integrated Photovoltaic (BIPV) Design, Environment-Behavior Proceeding Journal Vol 2, No 5. March 2017

Ornwiriya Namsawat & Rugwongwan, Y. (2017). A Classification of Production Service System Concept in the Environment Aspect to Create the Strategy of the Design of PSS, Environment-Behavior Proceeding Journal Vol 2, No 5. March 2017

Pijukkana, P., & Rugwongwan, Y. (2017). Comparison on Concept Transferring Procedures of Basic Idea between Handmade Design and Computer Modeling, Environment-Behavior Proceeding Journal Vol 2, No 5. March 2017

Tunprawat, C., Rugwongwan, Y., & Singhirunnusorn, W. (2017).  Product Design Enhancing Environmental Perception and Encouraging Behavioral Change towards Sustainability, Environment-Behavior Proceeding Journal Vol 2, No 5. March 2017

ศิโรรัตน์ สุชาติ, และญาณินทร์ รักวงศ์วาน. (2559). การพัฒนาแนวคิดเอกลักษณ์องค์กรสำหรับสถาปัตยกรรมภายในร้านออสก้าเดนิม. การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาครั้งที่ 40, ศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบรอบ 60 ปี กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

วรางคณา วงศ์อุ้ย, และญาณินทร์  รักวงศ์วาน. (2558). โครงการศึกษาอัตลักษณ์ชาวไทหล่ม เพื่อเป็นแนวทางในการออกแบบภายในพิพิธภัณฑ์หล่มศักดิ์. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ฉบับพิเศษ พ.ศ.2558, 77-85.

ญาณินทร์  รักวงศ์วาน. (2552). บริบทที่แตกต่างของความเป็นสมัยใหม่ในประเทศไทย. วารสารวิชาการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล. 8(6), 33-42.

Rakwongwan, N., & Rugwongwan Y., (2015). The Sustainability of in Urban Wild Area Changes and Urban Area Development: Case Study of Wuhan City’s Metropolitan Area, P.R of China in 2002-2011, Global Journal of Political Science and Administration. 3, 44 – 59.

Tan, S., Rakwongwan, N., & Rugwongwan, Y. (2014).   The Context of Changes for Land Resources Ecosystem in Urban Wild Area: Case Study of Wuhan City’s Metropolitan Area, People’s Republic of China in 1999-2013. Journal of Natural Sciences Research, 4,

Tan, S., Rakwongwan, N., & Rugwongwan, Y. (2014).   The Context of Changes for Land Resources Metabolism in Urban Wild Area. International Journal of Research in Applied Natural and Social Sciences, 2, 157-168.

ญาณินทร์ รักวงศ์วาน (2554). พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกับการสงวนรักษามรดกทางวัฒนธรรม ของชุมชนท้องถิ่น. วารสาร ดำรงวิชาการ, 10(1). 1-24.

ญาณินทร์  รักวงศ์วาน. (2547). รูปแบบสะท้อนชีวิต. ใน วิวัตน์ เตมียพันธ์ (บ.ก.), มรดกความงามของสภาพแวดล้อมท้องถิ่นไทย. กรุงเทพฯ : ภาควิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.

รายวิชาที่สอน

–  รายวิชากลุ่มวิชาพื้นฐานทางวิชาชีพ
–  รายวิชากลุ่มวิชาหลัก
–  รายวิชากลุ่มวิชาเทคโนโลยี
–  รายวิชากลุ่มวิชาสนับสนุน
–  รายวิชาหมวดวิชาเลือกเสรี